1 / 36

โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน

The heat is on. โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน. โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1. Barrels. ปริมาณน้ำมันสำรองของโลก. การใช้น้ำมันของโลก. 40 ปี. คงเหลือใช้ได้อีก. Barrels. ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทย. การใช้ปิโตรเลียมของประเทศไทย. 15 ปี. คงเหลือใช้ได้อีก.

thisbe
Download Presentation

โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The heat is on โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1

  2. Barrels ปริมาณน้ำมันสำรองของโลก การใช้น้ำมันของโลก 40 ปี คงเหลือใช้ได้อีก

  3. Barrels ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทย การใช้ปิโตรเลียมของประเทศไทย 15 ปี คงเหลือใช้ได้อีก

  4. รูปแบบของพลังงาน มนุษย์รู้จักการใช้พลังงานตั้งแต่ดึกดำบรรพ์และนำพลังงานมาใช้ในการสร้างความเจริญทางเทคโนโลยี โดยรูปแบบพลังงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) พลังงานสิ้นเปลือง (Modern Energy)

  5. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy)

  6. พลังงานจากน้ำ แสงอาทิตย์ ลม ก๊าซชีวภาพ และชีวมวลจัดเป็นพลังงานหมุนเวียน พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy)

  7. พลังงานหมุนเวียนถูกใช้ประมาณ 8-10% ของความต้องการใช้พลังงานของโลก

  8. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการ ผลิตความร้อน (Solar Collector)

  9. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตกระแสไฟฟ้า (Solar Cell)

  10. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) พลังแสงอาทิตย์ ประสิทธิภาพเพียง 9-17 %

  11. การใช้พลังงานลมในแถบประเทศสแกนดิเนเวียการใช้พลังงานลมในแถบประเทศสแกนดิเนเวีย พลังลม

  12. กังหันลมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก รัศมี 60 เมตร สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 5 MW เยอรมัน 18,428 MW สเปน 10,027 MW อเมริกา 9,149 MW อินเดีย 4,430 MW เดนมาร์ก 3,128 MW ไทย 0.223 MW(223 kW ที่แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต 150 kW)

  13. กังหันลมแนวตั้งขนาดเล็ก เหมาะสำหรับ พื้นที่ที่ใช้กระแสไฟฟ้าไม่มาก

  14. การใช้น้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าการใช้น้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า เครื่องผลิตไฟฟ้า กังหันเทอร์ไบน์

  15. การสร้างเขื่อน Three Gorges ที่ประเทศจีน

  16. เขื่อน Three Gorges ที่ ประเทศจีน ซึ่งกั้น แม่น้ำแยงซีเกียงและ สามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าได้

  17. เขื่อน Three Gorges ที่ สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว

  18. Nuclear Power การผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้ปฏิกิริยาจากนิวเคลียร์ของยูเรเนียม 235

  19. พลังงานนิวเคลียร์ Nuclear power plant

  20. ระหว่างเชื้อเพลิงฟอสซิลและนิวเคลียร์ ซึ่งมีความแตกต่างกันที่แหล่งผลิตพลังงานเท่านั้น

  21. ภายในโรงงานผลิตกระแส ไฟฟ้าจากนิวเคลียร์

  22. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) พลังคลื่น • พลังงานจากมหาสมุทร • พลังงานจากกระแสน้ำในมหาสมุทร • พลังงานของคลื่นมหาสมุทร • พลังงานจากความแตกต่างของอุณหภูมิที่ผิวหน้าและก้นบึ้งมหาสมุทร

  23. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) พลังความร้อนใต้ภิภพ(Geothemal Energy)

  24. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ชีวมวล : น้ำมันปาล์ม

  25. ความสำคัญของ Renewable energy • พลังงานเหล่านี้เป็นพลังงานสะอาด • พลังงานเหล่านี้มีไม่จำกัด • มีประโยชน์ต่อการสร้างงานและเศรษฐกิจ

More Related