1k likes | 2.71k Views
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วิชา เศรษฐศาสตร์ ม .2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ผู้จัดทำ นายธนิตย์ พลายมาศ. ระบบเศรษฐกิจ.
E N D
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้จัดทำ นายธนิตย์ พลายมาศ
ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ ภายใต้ระเบียบกฎเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติของสังคมที่ยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินกิจการทางเศรษฐกิจ
ความสำคัญของระบบเศรษฐกิจความสำคัญของระบบเศรษฐกิจ - ทำให้เกิดการควบคุม ดูแลในการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ - ทำให้เกิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน - ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนค้าขายและบริการ
ระบบเศรษฐกิจ มี 3 รูปแบบคือ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) 2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (socialism) 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy)
1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) - เอกชนเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ - รัฐบาลทำหน้าที่บริการสังคม เช่น การออก กฏหมาย , การป้องกันประเทศ - ผู้ผลิตและผู้บริโภคจะมีอิสระในการเลือก อย่างเต็มที่
1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) ข้อดี 1. เอกชนและประชาชนมีแรงจูงใจในการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2. ทรัพยากรถูกนำมาใช้อย่างคุ้มค่า 3. สินค้ามีคุณภาพและราคาถูกลง 4. เจ้าของปัจจัยการผลิตมีเสรีภาพในการใช้ปัจจัยการผลิต
1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) ข้อเสีย 1. เกิดการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม 2. เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง 3. ธุรกิจรายใหญ่มีโอกาสผูกขาดการผลิตสินค้าและบริการ
2.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (socialism) - รัฐบาลกำหนดและวางแผนกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ - รายได้ที่รัฐได้นำไปช่วยเหลือบุคคลรายได้น้อย ผ่านการจัดสวัสดิการเพื่อส่วนรวม
2.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (socialism) ข้อดี 1. เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม 2. ประชาชนได้รับสวัสดิการจากรัฐบาลอย่างทั่วถึง และเพียงพอ
2.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (socialism) ข้อเสีย 1. ผู้ดำเนินการขาดแรงจูงใจเพราะไม่ได้เป็นเจ้าของกิจการ 2. ไม่มีเสรีภาพในการทำงาน 3. รัฐบาลจัดเก็บภาษีในอัตราสูง เนื่องจากนำภาษีไปจัด สวัสดิการให้ประชาชนอย่างทั่วถึง
3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) - เป็นระบบที่ผสมกันระหว่างระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมและสังคมนิยม - มีการผลิต บริการ การโฆษณาและแข่งขันเสรี - รัฐควบคุมกิจการที่เกี่ยวกับประชาชน เช่น สาธารณูปโภคและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) ข้อดี 1. การกระจายรายได้และจัดสรรทรัพยากรอย่างทั่วถึง 2. ผู้ใช้แรงงานได้รับค่าจ้างตามความสามารถ 3. เอกชนมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น 4. ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าและบริการที่ตนเอง ต้องการ
3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) ข้อเสีย 1. รัฐบาลไม่สามารถสั่งการแบบรีบด่วนได้ 2. การวางแผนจากรัฐเพื่อในเอกชนดำเนินการหรือ ปฏิบัติตามเป็นไปได้ยาก 3. การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและกิจการขนาดใหญ่ ของรัฐมักขาดประสิทธิภาพ
การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการระหว่างประเทศ
สาเหตุที่ต้องมีการค้าระหว่างประเทศสาเหตุที่ต้องมีการค้าระหว่างประเทศ - แต่ละประเทศมีความได้เปรียบในเรื่องการ ผลิตและบริการที่แตกต่างกัน - เมื่อมีการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ทำให้ ประเทศคู่ค้าได้รับประโยชน์มากขึ้น
การค้าระหว่างประเทศ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ 1. การส่งออก (export) 2. การนำเข้า (import)
สาเหตุของการค้าและการกระจายทรัพยากรในโลกสาเหตุของการค้าและการกระจายทรัพยากรในโลก 1. ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ 2. ความแตกต่างทางทรัพยากรธรรมชาติ 3. ความแตกต่างเกี่ยวกับความได้เปรียบในการผลิต
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ http://www.mfa.go.th/asean/
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ 1. เขตการค้าเสรี (free trade area) 2. สหภาพศุลกากร (customs union) 3. ตลาดร่วม (common market) 4. สหภาพเศรษฐกิจ (economic union) 5. สหภาพเหนือชาติ (supernational union)
ผลกระทบจากการพึ่งพาอาศัยกันผลกระทบจากการพึ่งพาอาศัยกัน ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย มีผลกระทบ 2 รูปแบบคือ 1. ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ 2. ปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ - การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริมการออมและการลงทุนภายในประเทศ - ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพที่ดีขึ้น - มีการแข่งขันกันประกอบการเพิ่มขึ้น - บรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล
ปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ - การขาดดุลการค้า - การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต - การเลียนแบบการบริโภค
ตัวอย่างกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซียตัวอย่างกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย - สมาคมประชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) - เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิก (APEC)
การแข่งขันทางการค้า หมายถึง การแข่งขันในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการทั้งที่เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบ ผลิตสินค้า ผลิตสินค้าต่อเนื่องหรือผู้จำหน่ายสินค้าทั้งค้าปลีกและค้าส่ง
การแข่งขันทางการค้าในประเทศการแข่งขันทางการค้าในประเทศ แบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ 1. การใช้อำนาจเหนือตลาด 2. การตกลงร่วมกัน 3. การรวมธุรกิจ 4. การค้าที่ไม่เป็นธรรม
การใช้อำนาจเหนือตลาด - การกำหนดราคาเพื่อกำจัดคู่แข่งรายอื่น - การห้ามขายสินค้าของคู่แข่ง - การเลือกปฏิบัติ - การกำหนดราคาขายปลีก - การขายพ่วง
การแข่งขันทางการค้าต่างประเทศการแข่งขันทางการค้าต่างประเทศ
นโยบายการแข่งขันทางการค้านโยบายการแข่งขันทางการค้า - การใช้อำนาจเหนือตลาด - การตกลงร่วมกัน - การค้าที่ไม่เป็นธรรม
นโยบายการค้าระหว่างประเทศนโยบายการค้าระหว่างประเทศ - นโยบายการค้าเสรี - นโยบายการค้าคุ้มกัน
มาตรการกีดกันทางการค้ามาตรการกีดกันทางการค้า - การตั้งกำแพงภาษี (tariff wall) - การกำหนดโควตา (Quota) - การให้การอุดหนุน (subsidies) - การทุ่มตลาด (dumping) - ข้อตกลงการค้าเสรี (free trade agreement)
ผลกระทบของการแข่งขันทางการค้าผลกระทบของการแข่งขันทางการค้า 1. ด้านคุณภาพสินค้า 2. ด้านปริมาณการผลิต 3. ด้านราคาสินค้า
ข้อมูลอ้างอิง หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด www.wpp.co.th free powerpoint template www.fppt.com free picture www.freedigitalphotos.net www.absolutvistion.com