500 likes | 1.45k Views
บทที่ 5. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค มี 2 ทฤษฎี. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ ทฤษฎีว่าด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Theory of Utility). ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด ผู้บริโภคปรารถนาจะได้รับความพอใจสูงสุด อรรถประโยชน์มีหน่วย “ ยูทิล ” ( Util)
E N D
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค มี 2 ทฤษฎี • ทฤษฎีอรรถประโยชน์ • ทฤษฎีว่าด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีอรรถประโยชน์(Theory of Utility) • ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด • ผู้บริโภคปรารถนาจะได้รับความพอใจสูงสุด • อรรถประโยชน์มีหน่วย “ยูทิล” (Util) • อรรถประโยชน์จากสินค้าบริโภคหนึ่งไม่กระทบสินค้าชนิดอื่น • อรรถประโยชน์แต่ละชนิดสามารถรวมกันได้ • กฎของการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 68 เลขหน้า 5/2 ทฤษฎีอรรถประโยชน์ “อรรถประโยชน์”(utility) หมายถึง ความพอใจที่บุคคลได้รับจากการอุปโภคหรือบริโภคสินค้านั้นในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง “อรรถประโยชน์” เป็นเพียงความรู้สึกนึกคิด ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้
กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์เพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Utility) : เมื่อผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นทีละหน่วยแล้ว อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ของสินค้านั้นจะลดลงตามลำดับ
ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อบริโภคเพิ่มขึ้น1หน่วยความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อบริโภคเพิ่มขึ้น1หน่วย อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Marginal Utility : MU) • ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น1หน่วย
ก๋วยเตี๋ยว (ชาม) อรรถประโยชน์ ส่วนเพิ่ม(ยูทิล) 0 - 1 10 2 8 3 4 4 0 5 - 2 ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นจาก 0 เป็น 1 ชาม ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นจาก 2 เป็น 3 ชาม
อรรถประโยชน์รวม(Total Utility :TU) : ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ที่ได้จากการบริโภคสินค้าตั้งแต่หน่วยแรกถึงหน่วยที่กำลังพิจารณาอยู่
ข้าวซอย (ชาม) MU(ยูทิล) TU(ยูทิล) 0 - 0 1 10 10 2 18 8 3 22 4 22 4 5 20 0 -2 0 + 10 = 10ยูทิล 10 + 8 = 18ยูทิล 18 + 4 = 22ยูทิล
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 69 เลขหน้า 5/4 อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์เพิ่มของการดื่มน้ำ
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/5 เส้นอรรถประโยชน์เพิ่ม (MU) และเส้นอรรถประโยชน์รวม (TU) ของสินค้าชนิดหนึ่ง
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/6 เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าอรรถประโยชน์รวม (TU) และอรรถประโยชน์เพิ่ม (MU) ได้ดังนี้ 1. ทั้ง (TU) และ (MU) สำหรับการบริโภคสินค้าหน่วยแรก ๆ จะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 2. MU จะมีค่าสูงสุดเมื่อ slope ของ TU มีค่ามากที่สุดหลังจากจุดนี้แล้วค่าของ MU จะเริ่มลดลง 3. เมื่อ MU เท่ากับศูนย์ TU จะมีค่ามากที่สุด ต่อจากนั้นค่าของ TU จะเริ่มลดลงขณะเดียวกัน MU ก็จะมีค่าติดลบ
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/7 ดุลยภาพของผู้บริโภค(Consumer Equilibrium)คือ การที่ผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุดจากการที่ได้บริโภคสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง รวมทั้งความพอใจสูงสุดที่ได้จ่ายเงินจำนวนจำกัดเพื่อซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลานชนิด เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค มีดังนี้ • ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด • ผู้บริโภคต่างแสวงหาความพอใจสูงสุดจากสินค้า
ดุลยภาพของผู้บริโภค 1.กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด 2.กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด 2.1กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว 2.2กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้าเท่ากัน 2.3 กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้าไม่เท่ากัน
TU สูงสุด เมื่อ MU= 0 TU TU TU 6 4 5 10 6 8 13 7 8 15 7 7 15 5 3 บริโภค A = 5ชิ้น , B = 4 ชิ้น , C = 3 ชิ้น TUt=15 + 7 + 8 = 30ยูทิล กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด
กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัดกรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด TUtมีค่าสูงสุดเมื่อ MUA = MUB = . . . = 0
กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว เปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ที่เขาได้รับจากสินค้าหน่วยนั้นๆกับอรรถประโยชน์ที่จะต้องสูญเสียไปจากการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหน่วยนั้น TUสูงสุดเมื่อ MUของสินค้านั้น = MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า
MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้าMUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่จ่ายซื้อสินค้าแต่ละหน่วย ราคาสินค้า
ถ้าMUx คือMUของเงิน 1 หน่วย Px คือ ราคาของสินค้าX MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้าX MUxxPx
TUสูงสุดเมื่อ MUของสินค้านั้น = MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า MUx = MUxxPx MUx = Px (MUx= 1) TUสูงสุดเมื่อMUx = Px
กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า เท่ากัน เลือกสินค้าที่ให้ค่าMUสูงสุดก่อนแล้วจึงเลือกสินค้าที่ให้ค่าMUต่ำลงมาจนกว่างบประมาณจะหมด ดุลยภาพของผู้บริโภค (TUสูงสุด) เกิดขึ้นเมื่อ TU สูงสุดเมื่อ MUx = MUy
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 69 เลขหน้า 5/4 ตัวอย่างหน้า 65 อรรถประโยชน์เพิ่มของสินค้า x และ y
กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า ไม่เท่ากัน เลือกสินค้าที่ให้ค่าMUสูงสุดก่อนแล้วจึงเลือกสินค้าที่ให้ค่าMUต่ำลงมาจนกว่างบประมาณจะหมด MU ต่ำลง TU สูงขึ้น
สินค้า A ราคา PA สินค้า B ราคา PB (PAPB) ราคา 1 บาท สินค้า A ราคา PA บาทให้อรรถประโยชน์ = MUA สินค้า A ราคา 1 บาท ให้อรรถประโยชน์ = MUA PA
MUA MUB MUn = = . . . = PA PB Pn ดุลยภาพของผู้บริโภค (TUสูงสุด) เกิดขึ้นเมื่อ
จำนวนซื้อ ปากกา (ด้าม) ดินสอ (แท่ง) TU MU / P TU MU / P 1 6 3 10 10 2 10 2 18 8 10 3 13 1.5 22 4 4 15 1 24 2 24 5 16 0.5 25 1 สมมติปากการาคาด้ามละ 2 บาทและดินสอราคาแท่งละ 1บาท และผู้บริโภคมีเงิน8บาท
= = 2 MUA MUB PA PB ซื้อปากกา 2 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง ( ด้วยเงิน 8 บาท ) TUt = 10 + 24 = 34 Util
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 72 เลขหน้า 5/8 ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภคว่าถ้าผู้บริโภคมีรายได้จำกัดเพื่อซื้อสินค้า 2 ชนิด หากต้องการซื้อสินค้าหนึ่งเพิ่มขึ้นก็ต้องลดปริมาณการซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่ง เพื่อรักษาระดับความพอใจไว้เท่าเดิม อัตราของการทดแทนกัน จำนวนสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า y ที่ลดลง
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/12 อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่างสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution – MRS) MRSหมายถึง อัตราการลดลงของสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อได้รับสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ทั้งนี้เพื่อรักษาความพอใจให้คงเดิม
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 72 เลขหน้า 5/8 อัตราของการทดแทนกัน จำนวนสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า y ที่ลดลง จำนวนสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า x ที่ลดลง
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 74 เลขหน้า 5/13 อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่าง สินค้า X และ Y
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/10 แผนที่แสดงเส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 74 เลขหน้า 5/14 เส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/11 คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน 1. เป็นเส้นโค้ง หรือเส้นตรงที่ลาดจากซ้ายลงมาทางขวา แสดงว่าเมื่อผู้บริโภคต้องเสียสละเขาต้องบริโภคสินค้าอีกอย่างหนึ่งน้อยลงได้รับสินค้าอย่างหนึ่งเพิ่มขึ้นจึงชดเชยให้ได้รับความพอใจเท่าเดิม 2. เส้นความพอใจเท่ากันส่วนมากเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุด origin ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราการทดแทนกันของสินค้า 2 อย่าง มีลักษณะลดลงเรื่อย ๆ 3. คุณสมบัติประการสุดท้าย คือ ส่วนประกอบของสินค้า 2 ชนิด ในการสร้างความพอใจที่เท่ากัน สำหรับผู้บริโภคที่ได้นับไม่ถ้วน กล่าวคือเส้นความพอใจเท่ากันนี้เป็นเส้นติดต่อกันโดยไม่ขาดช่วง
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณ หนังสือหน้า 75 เลขหน้า 5/15 เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget Line or Price Line) เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา หมายถึง เส้นที่แสดงให้เห็นถึงจำนวนต่าง ๆ ของสินค้า 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนหนึ่งตามที่กำหนดไว้ ณ ราคาตลาดขณะนั้น
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณ หนังสือหน้า 76 เลขหน้า 5/16 เส้นงบประมาณ
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 76 เลขหน้า 5/17 ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer’s Equilibrium) ณ จุดซึ่งเส้น IC และเส้นงบประมาณสัมผัสกันนั้น อัตราหน่วยสุดท้ายของการใช้ทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด จะเท่ากับอัตราส่วนราคาของสินค้า 2 ชนิดนั้น ซึ่งพิสูจน์ได้ดังนี้
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 77 เลขหน้า 5/18 รูป ดุลยภาพของผู้บริโภค ดังนั้น
จงหาค่า A-H เลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ X และ y, ราคาของสินค้าเท่ากัน = 25 บาท, งบประมาณ 100 บาท ซื้อสินค้า X ,Yอย่างละกี่ชิ้น
จงหาค่า A-H เลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ X และ y, ราคาของสินค้าX = 2 บาท, ราคาของสินค้าy = 3 บาทงบประมาณ 24 บาท ซื้อสินค้า X ,Yอย่างละกี่ชิ้น