1 / 52

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ ( Feasibility Study : FS ) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( Environmental Impact Assessment : EIA ) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์

thora
Download Presentation

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ (Feasibility Study : FS) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) ในระดับลุ่มน้ำโขง ชี มูล การประชุมปฐมนิเทศโครงการ พื้นที่ 7: น้ำเชิญ-น้ำพรม

  2. EIA : Environmental Impact Assessment HIA : Health Impact Assessment • SIA : Social Impact Assessment

  3. HIA สุขภาพ EIA สิ่งแวดล้อม SIA สังคม

  4. ประชาชน นโยบายรัฐ ตัดสินใจ ยั่งยืน เครื่องมือ

  5. ที่มาของ EIA : พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 มาตรา 46 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศโครงการที่ต้องทำรายงาน EIA

  6. ประเภทโครงการที่ต้องทำ EIA

  7. 1 2 การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม อุทยานแห่งชาติ/เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ 1 พรบ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 2 พรบ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ขออนุญาตเข้าพื้นที่ต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช

  8. ป่าสงวนแห่งชาติ 3. ป่าสงวนแห่งชาติ - ครม.เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2537 ข้อกำหนดในการปฎิบัติ จัดทำรายงาน EIA/IEE หรือข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม 3

  9. 462000 462000 463000 463000 457000 457000 458000 458000 459000 459000 460000 460000 461000 461000 0 0.5 1.0 2.0 กม. ตัวอย่าง C 2020000 2020000 E 2019000 2019000 เขตพื้นที่ป่าเพื่อการ อนุรักษ์ (ZoneC) 2018000 2018000 E 2017000 2017000 เขตพื้นที่ป่าเพื่อ เศรษฐกิจ (ZoneE) 2016000 2016000 E E N 2015000 2015000 C 2014000 2014000

  10. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1 A 4. พื้นที่ชั้นลุ่มน้ำชั้นที่ 1A - มติครม. เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2531 (หลักเกณฑ์ลุ่มน้ำ) ข้อกำหนดในการปฎิบัติ ห้ามมิให้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ป่าไม้ เป็นรูปแบบอื่นอย่างเด็ดขาด 4 ชั้นลุ่มน้ำ 4 5 3 1A 1B 2A

  11. ตัวอย่าง 1 A สภาพป่ายังคงความสมบูรณ์ ต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำและทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ

  12. พื้นที่ที่อยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์หรืออุทยานประวัติศาสตร์ แหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ไม่ใช้พื้นที่

  13. พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ ไม่ใช้พื้นที่

  14. สถานที่สำคัญทางศาสนา เช่น วัด มัสยิด โบสถ์ เป็นต้น โรงเรียน สถานพยาบาล ไม่ใช้พื้นที่

  15. รายละเอียดโครงการ ขั้นตอน ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประเมินผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กำหนดมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และชดเชยความเสียหาย เสนอและจัดทำแผนปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไข

  16. ตัวอย่างข้อเสนอแนะ การพัฒนา แหล่งท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว แหล่งเพาะพันธ์ปลา แหล่งเพาะพันธุ์ปลา

  17. ตัวอย่างข้อเสนอแนะ องค์กรผู้ใช้น้ำ

  18. ตัวอย่างข้อเสนอแนะ ปลูกป่าทดแทน สูญเสียป่าไม้

  19. N 0 0.5 1.0 15 กม. ขอบเขตการศึกษา จ.เลย จ.เพชรบูรณ์ จ.ขอนแก่น จ.ชัยภูมิ พื้นที่ประมาณ 5,330.96 ตร.กม. หรือ 3,331,850 ไร่ ในพื้นที่เขตการปกครอง 4 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ ขอนแก่น เพชรบูรณ์ และ เลย

  20. พื้นที่ได้รับประโยชน์พื้นที่ได้รับประโยชน์

  21. การวางแนวท่อ

  22. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนการศึกษา รวบรวมข้อมูลด้านนโยบาย กฏหมายและข้อกำหนดต่างๆ รวบรวมข้อมูลและเอกสารต่างๆ ที่กี่ยวข้อง สำรวจสภาพพื้นที่โครงการ ตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม -ศึกษาพื้นที่โครงการ -แปลภาพถ่าย/แผนที่ -รวบรวมข้อมูล รูปแบบทางเลือก/ เกณฑ์การคัดเลือก คัดเลือกรูปแบบทางเลือกด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพและสังคม -ศึกษารายละเอียดที่ เหมาะสมที่สุด -รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม -สำรวจภาคสนามเพิ่ม รูปแบบทางเลือกที่เหมาะสม การวิเคราะห์ EIA, HIA,SIA

  23. ต่อ การวิเคราะห์ EIA, HIA, SIA การมาครั้งที่ 1 ข้อเสนอแนะ มาตรการ การมาครั้งที่ 2 ร่างรายงาน รายงาน EIA, HIA, SIA เสนอ สผ. สผ. เห็นชอบ กก.วล. องค์กรอิสระ EIA รุนแรง

  24. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ชีวภาพ กายภาพ

  25. น้ำเชิญ น้ำเชิญ น้ำพรม คุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ เขื่อนอุบลรัตน์ ต.ภูผาม่าน เขื่อนจุฬาภรณ์ ต.ไชยสอ 2 ต.บ้านกง ต.หนองโพนงาน 10 9 3 8 ต.หนองเรือ 1 6 ต.บ้านแก้ง ต.กุดกว้าง 5 7 ต.หนองคอนไทย 4 ต.กวงโจน ต.กุดเลาะ

  26. คุณภาพน้ำใต้ดิน เขื่อนอุบลรัตน์ ต.ภูผาม่าน เขื่อนจุฬาภรณ์ น้ำเชิญ 2 ต.ชุมแพ ต.หนองโพนงาน ต.กุดกว้าง 10 3 9 ต.บ้านแก้ง น้ำเชิญ 8 6 ต.บ้านกง ต.หนองไฮ 1 ต.กุดเลาะ 5 ต.หนองคอนไทย 4 น้ำพรม 7 ต.กวงโจน

  27. การเก็บตัวอย่างด้านสิ่งแวดล้อมการเก็บตัวอย่างด้านสิ่งแวดล้อม

  28. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(HIA)การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(HIA) การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (Health Impact Assessment: HIA) = การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางบวกและทางลบ เพื่อจัดทำข้อเสนอในเชิงมาตรการป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพและนำไปสู่กระบวนการตัดสินใจในการพัฒนา (กระทรวงสาธารณสุข)

  29. Screening ติดตามตรวจสอบและประเมินผล Scoping Assessment พิจารณารายงานโดย สผ. -รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน -ประเมินและจัดลำดับความสำคัญ -เสนอมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบและจัดทำรายงาน

  30. ข้อมูลการสัมผัสของประชาชนข้อมูลการสัมผัสของประชาชน

  31. เขื่อนอุบลรัตน์ การวางแผนจุดเก็บตัวอย่างปลา หอยที่เป็นพาหะนำโรคพยาธิ ต.ภูผาม่าน เขื่อนจุฬาภรณ์ 2 ต.บ้านกง ต.ไชยสอ ต.กุดกว้าง 10 น้ำเชิญ 9 3 8 น้ำเชิญ 1 6 ต.บ้านแก้ง ต.หนองเรือ 5 7 ต.หนองคอนไทย ต.หนองโพนงาน ต.กวงโจน น้ำพรม 4 ต.กุดเลาะ

  32. การตรวจสุขภาพประชาชน การสำรวจและ วิเคราะห์สัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค ถ่ายอุจจาระลงน้ำ Bythinia spp. ตัวอ่อนระยะที่1 ตัวอ่อนระยะที่ 2 • ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับ 1.1 ตรวจอุจจาระเพื่อหาไข่หนอนพยาธิ 150 ตัวอย่าง 1.2 การสำรวจหอยที่เป็นพาหะนำโรค 150 ตัวอย่าง 1.3 การสำรวจตัวอ่อนพยาธิในปลาที่เป็นพาหะนำโรค 150 ตัวอย่าง

  33. ปัญหาโรคไข้ฉี่หนู (เลปโตสไปโรซีส) การดักจับสำรวจหนูที่เป็นพาหะนำโรค 75 จุด • ปัญหาโรคที่นำโดยยุง เช่น ไข้เลือดออก มาลาเรีย - สำรวจยุง 150 ตัวอย่าง (2 ฤดูกาล) • - เจาะเลือดเพื่อหาเชื้อไข้มาลาเรีย 150 ตัวอย่าง • ปัญหาการใช้สารเคมี โดยเฉพาะยาฆ่าแมลงการศึกษาการใช้สารเคมีของเกษตรกรและการเจาะเลือด เพื่อตรวจหา Cholinesterase150 ตัวอย่าง • ปัญหาโรคจากน้ำดื่ม • การเก็บตัวอย่างน้ำดื่มของชุมชน 150 ตัวอย่าง

  34. แบบสอบถามประเมินผลกระทบด้านสุขภาพแบบสอบถามประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ • ปัญหาความเครียดและสุขภาพจิต กลุ่มคนที่มีความวิตกกังวล การย้ายที่อยู่อาศัย จะวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างไร • แบบสอบถามด้านสุขภาพจิต 150 ตัวอย่าง • การศึกษาสุขภาพอนามัยของประชาชน ทำการตรวจสุขภาพทั่วไปโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงบริเวณพื้นที่พัฒนาโครงการ • จำนวน 150 ตัวอย่าง

  35. การประเมินผลกระทบด้านสังคม (SIA) และการมีส่วนร่วม

  36. กรอบการศึกษาผลกระทบด้านสังคมกรอบการศึกษาผลกระทบด้านสังคม การศึกษาจะตั้งข้อสังเกตและคาดการณ์ผลกระทบทางสังคมที่อาจเกิดขึ้น พิจารณาความสัมพันธ์และความสอดคล้องระหว่างข้อมูลของโครงการ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตโดยรวมของชุมชน ทำการหารือกับชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และแสวงหาแนวคิดของชุมชนต่อโครงการในด้านต่างๆ

  37. ดำเนินการศึกษาตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนดำเนินการศึกษาตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมในกระบวนการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของสำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สผ. (2549)

  38. ขั้นตอน กระบวนการ และกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบ 1 ประชุมครั้งที่1 (พย. 54) 2 ประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่1 (มค.55) 3 ประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่2 (มีค.55)

  39. ขั้นตอน กระบวนการ และกิจกรรมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการประเมินผลกระทบ (ต่อ) 4 ประชุมครั้งที่2 (พค. 55) 5 การสัมภาษณ์ครัวเรือน ผู้นำและหน่วยงาน

  40. กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตดำเนินการกลุ่มเป้าหมายและขอบเขตดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ศึกษาครอบคลุม 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ และเลย ผู้แทนจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำรายงาน EIA ผู้แทนหน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณารายงาน EIA ผู้แทนหน่วยงานราชการระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับท้องถิ่น

  41. กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตดำเนินการ(ต่อ)กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตดำเนินการ(ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทนจากองค์กรเอกชนอิสระ สถาบันศึกษา และสถาบันทางศาสนา ผู้แทนสื่อมวลชนระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น ประชาชนทั่วไปที่ประกอบอาชีพอื่นที่ไม่ใช่เกษตรกร

  42. โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ (Feasibility Study : FS) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) ในระดับลุ่มน้ำโขง ชี มูล การประชุมปฐมนิเทศโครงการ พื้นที่ 6: เหนือเขื่อนอุบลรัตน์

  43. ขอบเขตพื้นที่ศึกษาพื้นที่ 6: เหนือเขื่อนอุบลรัตน์ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1.81 ล้านไร่ พื้นที่เขตการปกครอง 4จังหวัด 12 อำเภอ และ 2 กิ่งอำเภอ

  44. คุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ พื้นที่ 6: เหนือเขื่อนอุบลรัตน์ SW2 SW1 SW3 SW5 SW4 SW6 SW8 SW7 SW9 SW10

  45. บทสรุป

  46. Start

More Related