710 likes | 1.08k Views
มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ. รศ. ดร. ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง มหาวิทยาลัยฮาวาย 30 มกราคม 2553. yuphapha@hawaii.edu www.hawaii.edu/thai/ www.yhoonchamlong.net. แนะนำ CEFR หลักการและปรัชญาของ CEFR
E N D
มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ รศ. ดร. ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง มหาวิทยาลัยฮาวาย 30 มกราคม 2553 yuphapha@hawaii.edu www.hawaii.edu/thai/ www.yhoonchamlong.net
แนะนำ CEFR • หลักการและปรัชญาของ CEFR • มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษาของ CEFR • CEFR กับ หลักสูตร การเรียนการสอนและ การวัดผล • Dialang www.stc.chula.ac.th
แนะนำ CEFR (1) • Common European Framework of Reference for Languages: Learning, Teaching, Assessment กรอบอ้างอิงเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาและการวัดผลภาษาของสหภาพยุโรป http://www.coe.int/T/DG4/Linguistic/CADRE_EN.asp • ในปี 2001 (2544) European Union Council มีมติให้ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงในการรับรองระดับสมรรถภาพภาษาในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป • นับแต่ปี 2550 ภาษาที่ใช้ในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป มีภาษาราชการของประเทศต่างๆ 23 ภาษา โดย ฝรั่งเศสเป็นภาษากลางที่ใช้ในศูนย์กลางทางการเมือง 3 เมือง คือ Strasbourg, Brussels และ Luxemberg • สหภาพยุโรปส่งเสริมสังคมพหุภาษา (Plurilingualism)
แนะนำ CEFR (2) • CEFR เป็นผลจากการพัฒนาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีค.ศ.1957 1957: ประชุมความร่วมมือระหว่างรัฐบาลในเรื่องการสอนภาษา ครั้งที่1 1963: เริ่มโครงการวิจัยเรื่องการสอนภาษา 1975: ตีพิมพ์ข้อกำหนดคุณลักษณะสมรรถภาพภาษาระดับต่างๆ(Threshold Levels) 1994: ตั้งEuropean Centre for Modern Languages/Centre européen pour les langues vivantes (ECML/CELV) 2001: ประกาศใช้ CEFR และEuropean Language Portfolio (แฟ้มผลงานด้านภาษา)
แนะนำ CEFR (3) • CEFR เป็น มาตรฐานกลางสำหรับกลุ่มประเทศยุโรปในการจัดทำหลักสูตร (curriculum) ประมวลการสอน (syllabus) รวมทั้งการวัดผล (assessment) • เนื้อหาของ CEFR • ให้รายละเอียดว่า ผู้เรียนภาษาต้องรู้และเรียนรู้อะไร ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในบริบทต่างๆรวมทั้งบริบททางวัฒนธรรม • กำหนดมาตร (scale) สมรรถภาพภาษาเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้เป็นเป้าหมายเป็นขั้นๆให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนและเป็นเกณฑ์ในการวัดผลสัมฤทธิ์ของตน
แนะนำ CEFR (4) • ระดับผู้ใช้ภาษาขั้นต้น A • ระดับผู้ใช้ภาษาขั้นอิสระ B • ระดับผู้ใช้ภาษาระดับความสามารถขั้นสูง C
หลักการและปรัชญาของ CEFR(1) • สมรรถนะของผู้เรียน
หลักการและปรัชญาของ CEFR(2) Aural การฟัง • เน้นการปฏิบัติ(Action Oriented) กิจกรรมภาษา • Reception การรับ • Interactionปฏิสัมพันธ์ • Productionการผลิต • Mediationการเป็นสื่อกลางเช่น การล่าม การแปล การสรุป การนำมาเรียบเรียงใหม่ Visual การอ่าน Spoken การพูด(สนทนา) Writtenการเขียน(โต้ตอบ) Spokenการพูด(นำเสนอ) Writtenการเขียน(รายงาน)
หลักการและปรัชญาของ CEFR(3) • Task(ภารกิจ): any purposeful action considered by an individual as necessary in order to achieve a given result in the context of a problem to be solved, an obligation to fulfill or an objective to be achieved. (CEFR p.10) การกระทำการที่มีเป้าหมายใดๆที่เห็นว่าจำเป็นต้องทำเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ในการแก้ปัญหา หรือ ทำให้กิจการเสร็จลุล่วง หรือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ • Strategies กลยุทธ์ในการสื่อสาร และการเรียนภาษา
หลักการและปรัชญาของCEFR(4)หลักการและปรัชญาของCEFR(4) • บริบทในการใช้ภาษา(p.63-64) • Domain (แวดวงการใช้ภาษา) • ส่วนบุคคล, สาธารณะ, อาชีพ, การศึกษา • Situation สถานการณ์ • เช่น สถานที่ เวลา ผู้เกี่ยวข้อง ฯลฯ • Conditions and constraints เงื่อนไขและข้อจำกัด • ด้านกายภาพ, ด้านสังคม, ด้านเวลา
สมรรถนะต่างๆ(1) • สมรรถนะทั่วไป • ความรู้รอบตัวทั่วไป (ความเป็นไปในโลก, ความรู้ด้านสังคมและวัฒนธรรม) • ความรู้และทักษะด้านวิธีปฏิบัติตนในสังคม • สมรรถนะด้านอุปนิสัยส่วนบุคคล (ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม แรงจูงใจ ฯลฯ)
สมรรถนะต่างๆ (2) • สมรรถนะด้านการสื่อสารด้วยภาษา • สมรรถนะเชิงภาษาศาสตร์ (ความรู้เรื่องลักษณะภาษาในด้านไวยากรณ์ ศัพท์ ความหมาย ระบบเสียง ระบบการเขียน) • สมรรถนะเชิงภาษาศาสตร์สังคม(ความรู้เรื่องการใช้ภาษาให้เหมาะกับความสัมพันธ์ และระดับชั้นในสังคม ทำเนียบภาษา การแสดงความสุภาพ ภาษาถิ่น และ สำเนียงต่างๆ ฯลฯ) • สมรรถนะเชิงวัจนปฏิบัติ (ความรู้เรื่อง การเรียบเรียง ลำดับความ (discourse), การใช้ภาษาในการกระทำการต่างๆ (function), ธรรมเนียมปฏิบัติในการใช้ภาษา และการใช้ภาษาในการปฏิสัมพันธ์ (interaction)
มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษา (1) • มาตรวัดสมรรถนะโดยรวม (Global Scale) p.1 • ตารางประเมินตนเอง (Self Assessment Grid) p.2-3 ให้รายละเอียดกิจกรรมการสื่อสารที่ผู้เรียนทำได้แยกตามทักษะ และ ลักษณะการสื่อสาร • มาตรวัดคุณภาพของการใช้ภาษาพูด (Qualitative Aspects of Spoken Language Use) p. 4-6
มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษา (2) • คำบรรยายระดับแบบขยายความ (Illustrative Descriptors)มี 3 กลุ่ม • Communicative Activities กิจกรรมการสื่อสาร ให้รายละเอียดกิจกรรมการสื่อสารที่ผู้เรียนทำได้ “Can do”แยกตามทักษะ และ ลักษณะการสื่อสาร • Communicative Competence สมรรถนะในการสื่อสาร ให้รายละเอียดเรื่องคุณภาพและความสามารถในการสื่อสาร • Communicative Strategies กลยุทธในการสื่อสาร
คำบรรยายระดับให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำบรรยายระดับให้ข้อมูลเกี่ยวกับ • ประเภทและลักษณะของ text (Text type) เรื่อง (topic/theme) • ผู้เรียนจะต้องทำอะไร อย่างไรจึงจะเกิดผลตามวัตถุประสงค์ของ task
ตัวอย่าง การฟังระดับ A1 I can recognise familiar words and very basic phrasesconcerning myself, my family and immediate concrete surroundings when people speak slowly and clearly. Text type & topic: คำ และ วลี ที่พูด ช้าๆ และชัดๆ เรื่องผู้พูด ครอบครัว หรือ สถานการณ์แวดล้อมใกล้ตัวที่เป็นรูปธรรม Performance required: ฟัง คำที่คุ้นเคย และวลีพื้นฐานที่ใช้บ่อยๆรู้เรื่อง
ตัวอย่าง การพูดระดับ A1 I can use simple phrases and sentences to describe where I live and people I know. Text type & topic: การบอกเล่า เรื่องที่อยู่อาศัย และคนที่รู้จัก Performance required: ใช้วลี หรือประโยคความเดียว
แบบฝึกหัด • ภารกิจ แต่ละข้อ จัดเป็นกิจกรรมภาษาระดับใดตาม ตารางวัดผลตนเองของ CEFR
European Language Portfolio -ELP (1) • ชุดเอกสารสำหรับผู้เรียนในการบันทึกและติดตามพัฒนาการภาษาและประสบการณ์วัฒนธรรมของตนเพื่อไว้ใช้เป็นเอกสารประกอบการวัดระดับสมรรถภาพภาษาของตน • http://www.coe.int/t/dg4/portfolio/default.asp?l=e&m=/main_pages/welcome.html • พัฒนาขึ้นโดย แผนกนโยบายภาษา ของมนตรีแห่งยุโรป ปี 1998-2000 ประกาศใช้พร้อมกับ CEFR ในปี 2001
ELP (2) เอกสาร 3 ประเภท • Language Passport • ให้ภาพรวมสมรรถภาพภาษาต่างประเทศ ณ ขณะนั้น • อ้างถึงและแจงรายละเอียดสมรรถภาพในทักษะภาษาต่างๆ ตามกรอบ CEFR สำหรับวัดผลด้วยตนเอง(self-assessment) วัดผลโดยครู หรือ โดยสถาบันการศึกษาหรือการทดสอบต่างๆ (p. 2-3) P 45-56
ELP (3) 2. Language Biography ประวัติการศึกษาภาษา 3.Dossier ตัวอย่างผลงานภาษา เป็นหลักฐานประกอบ1 และ2
CEFR: สำหรับ ผู้เกี่ยวข้องกับนโยบายการสอนภาษาและการจัดการการเรียนการสอน • เป็นแนวทางวางหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน • ELP: สำหรับผู้เรียน • เป้าหมายในการเรียน (อ้างอิงจาก CEFR) เรียนอะไร เรียนทำไม เรียนอย่างไร ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายมากน้อยเพียงใด จะทำอะไรต่อไป
CEFR กับหลักสูตรภาษาและประมวลการสอน Lower secondary Upper secondary
Syllabus 1 Global Scale A1: สามารถเข้าใจและใช้รูปภาษาทั่วๆไปที่คุ้นเคย และประโยคพื้นฐานที่ใช้เพื่อสนองความจำเป็นที่เป็นรูปธรรม สามารถแนะนำตัว และแนะนำผู้อื่นได้และสามารถถามและตอบ คำถามเกี่ยวกับรายละเอียดในเรื่องส่วนบุคคล เช่น อยู่ที่ไหน ผู้คนที่รู้จัก และ สิ่งของที่มีอยู่สามารถโต้ตอบแบบธรรมดาได้ ถ้าคู่ปฏิสัมพันธ์พูดช้าๆและชัดๆและพร้อมจะช่วย Self Assessment Grid (Spoken Interaction) A1:สามารถพูดคุยด้วยภาษาง่ายๆ ในเรื่องที่ไม่ซับซ้อน ถ้าคู่สนทนายินดีที่จะพูดซ้ำหรือใช้คำพูดอีกแบบหนึ่ง โดยพูดช้าๆ และช่วยแต่งเติมเสริมต่อให้สามารถโต้ตอบกับคู่สนทนาได้ สามารถถามและตอบคำถามในเรื่องจำเป็น และคุ้นเคยได้โดยใช้ ภาษาง่ายๆ
Syllabus 2 A1 Speaking to someone (spoken interaction) – I can say who I am, where I was born, where I live and request the same typeof information from someone. – I can say what I am doing, how I am and ask someone how he or she is. – I can introduce someone, greet him/her and take my leave. – I can talk in a simple way of people I know and put questions to someone. – I can reply to simple personal questions and put similar questions. – I can count, state quantities and tell the time. – I can propose or offer something to someone. – I can talk about a date or appointment using, for example, “next week”, “lastFriday”, “in November”, “at three o’clock”.
Syllabus 3a A1 Speaking to someone • I can say who I am, where I was born, where I live and request the same type of information from someone. I can say my name. I can spell my name. I can ask someone his/her name. • I can say what I do, how I am and ask someone about himself/herself. I can say how I am and ask someone how he/she is. • I can introduce someone, greet them and take my leave. I can introduce someone, saying his/her first name. I can introduce someone, stating his/her connection with me (relation, friend) I can ask someone else’s name. • I can use simple familiar everyday expressions. I can express my thanks. I can wish a friend a happy birthday.
Syllabus 3b • I can talk simply of people I know and put questions to someone. I can indicate a quality or characteristic of someone. I can describe someone. I can state the color of something. • I can answer simple personal questions and put similar questions. I can say if something is true or false. I can describe the weather. I can say what I am able to do. I can say what I like doing and not doing. I can ask someone what he/she likes doing. • I can count, indicate quantities and tell the time. I can count up to 12. I can add, subtract and do simple division. I can give a telephone number
CEFR (+ ELP) กับการวัดผล คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร • กำหนดเนื้อหา (วัดผลอะไร) • ระบุเกณฑ์การตีความผลการปฏิบัติ (รู้ได้อย่างไรว่าบรรลุเป้าหมายแล้ว) • เป็นมาตรฐานร่วมในการระบุระดับสมรรถภาพจากการวัดผล เพื่อให้นำมาเทียบกันได้ คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร และ คำบรรยายระดับสมรรถนะในการสื่อสาร
คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร • ลักษณะภารกิจ(Task) ที่จะใช้ในการวัดผล • การรายงานผล • ประเมินตนเอง การวัดผลโดยครู • คำบรรยายระดับ สมรรถนะภาษา • ประเมินตนเอง การวัดผลโดยครู • การวัดผลการปฏิบัติ
ตัวอย่างจาก ตำราภาษาอินโดนีเซีย
เลือกใช้มาตรวัดต่างๆได้ตามความต้องการเลือกใช้มาตรวัดต่างๆได้ตามความต้องการ
ตัวอย่างการนำมาตรวัดไปใช้ให้คะแนนผลการปฏิบัติตัวอย่างการนำมาตรวัดไปใช้ให้คะแนนผลการปฏิบัติ • เป้าหมายของทักษะในการพูดโต้ตอบในวิชานี้คือ B1 • กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ผู้เรียนผู้นี้ ได้คะแนน 15 จาก คะแนนเต็ม 20
CEFR ในฐานะมาตรฐานกลางเพื่อการเทียบการวัดผลในระบบหรือสถาบันต่างๆ • ตัวอย่าง 1 เทียบกับACTFL (เอกสารหน้า 7)