390 likes | 839 Views
Circuit-switched network (PSTN). A dedicated path is established between two stations for communication. Telephone set. Hook switch & Ringer. On-hook - 48 V Ringing signal 75-90 Vrms f=18-25 Hz. Hook switch. Off-hook. วงจร Hybrid. 2w to 4w Side tone. Dialing.
E N D
Circuit-switched network (PSTN) A dedicated path is established between two stations for communication
Hook switch & Ringer On-hook - 48 V Ringing signal 75-90 Vrms f=18-25 Hz
Hook switch • Off-hook
วงจร Hybrid • 2w to 4w • Side tone
Dialing • Pulse Dialing • ส่ง pulse มีจำนวนเท่ากับเลขที่หมุน • Dual Tone Multifrequency dialing (DTMF)
Local Network • Subscriber terminal • Drop wire • จุดกระจายสาย DP • ตู้พักสาย CCP • MDF • Switching • ชุมสายท้องถิ่น • TDF • ชุมสายต่อผ่านท้องถิ่น
Signaling • Signaling ภายในชุมสายจะขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต • Signaling ระหว่างชุมสาย ซึ่งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อให้ชุมสายที่ใช้สวิทชิ่งต่างยี่ห้อสามารถทำงานร่วมกันได้
Interexchange Signaling • ชุมสาย A ส่งสัญญาณ seizure ไปยังชุมสาย B เพื่อขอจับจองช่องสัญญาณ • ชุมสาย B รับทราบส่งสัญญาณ Ack. ให้กับชุมสาย A • ชุมสาย A ส่ง Dial info. หรือเลขหมายเมื่อได้รับสัญญาณ Ack. • ชุมสาย B ทำการต่อโทรศัพท์ไปยังเลขหมายปลายทางแล้วส่งสัญญาณ Address complete • ชุมสาย A สามารถติดต่อกับคู่สายที่ชุมสาย B ได้และได้รับสัญญาณ off hook จากผู้รับแล้วจึงเริ่มคิดค่าโทรศัพท์ • เมื่อผู้เรียกวางหูก็จะยกเลิกการติดต่อ
การส่งสัญญาณ Signaling สามารถส่งได้สองรูปแบบ • ส่งระยะเวลาหนึ่งก็หยุดส่ง เช่นสัญญาณ Seizure ของระบบ R2 ส่งสัญญาณเป็นเวลา 100 ms • ส่งสัญญาณอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะได้รับสัญญาณตอบจากอีกฝ่ายเราเรียกว่า Compelled signaling • สามารถแน่ใจว่าอีกฝ่ายได้รับและเข้าใจสัญญาณที่ส่งไป • ไม่ต้องทำการวัดความยาวของสัญญาณ • สิ้นเปลืองเพราะต้องจับจองช่องสัญญาณตลอดเวลา
Inchannel or Channel-associated signaling • สัญญาณเสียงแต่ละช่องจะใช้ส่ง Signaling ด้วย เช่น Subscriber line signaling ก็ถือเป็น inchannel signaling • Signaling ของระบบ PCM เช่น PCM30 ที่ใช้ Time slot ที่ 16 ส่ง Signaling ให้กับช่องสัญญาณเสียง 30 ช่อง
16 frames ที่ติดต่อกันจะเรียกรวมว่า Multiframe ซึ่งเสียงโทรศัพท์แต่ละช่อง จะอยู่ใน TS1-15 และ 17-31 หรือใช้ส่งสัญญาณเสียงพูดได้ 30 ช่องเราจึงนิยมเรียกการ มัลติเพล็กส์แบบนี้ว่า PCM30 หรือ E1
common channel signaling (CCS) • อาศัยหลักการที่ว่าระยะเวลาที่ใช้ในการต่อโทรศัพท์จะสั้นกว่าการสนทนา โดยการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพเราจะสามารถใช้ช่องสัญญาณในการส่งสัญญาณ Signaling ร่วมกันได้ • 1 Time slot ของ PCM30 สามารถใช้ส่ง Signaling สำหรับต่อโทรศัพท์ให้กับสัญญาณเสียงได้ถึง 2000 ช่อง • ถ้ามีสายส่ง PCM30 10 เส้น สามารถใช้ Time slot ที่ 16 ไปในการส่งสัญญาณเสียงเพิ่มได้อีก 9 ช่อง นั่นคือจะมีความจุสัญญาณเสียงเพิ่มขึ้นอีก 9 ช่องเป็น 309 ช่อง
Common Channel Signaling (CCS) • Signaling system No. 7 (SS7) • Signaling links are carried by the digital transmission channels of PCM trunks
Switching • รับรู้ว่ามีความต้องการใช้โทรศัพท์ • สร้างสัญญาณเตือนต่างๆ เช่น ให้กดเลขหมายปลายทาง หรือ สัญญาณควบคุมให้ กระดิ่งที่ปลายทางดัง (Ringing signal) • รับเลขหมายปลายทาง • ตรวจสอบว่าปลายทางสายว่างหรือไม่(Busy test) • ส่วนเชื่อมต่อวงจรเช่น โอเปอเรเตอร์เสียบสายต่อจากเลขหมายหนึ่งไปยังอีกเลขหมายหนึ่ง • ในกรณีที่ต้องส่งผ่านชุมสายอื่นต้องส่งข้อมูลไปยังชุมสายอื่นได้ • รับข้อมูลจากชุมสายอื่นเพื่อช่วยต่อโทรศัพท์ในกรณีทางไกล • ส่วนตรวจสอบว่าสิ้นสุดการสนทนาแล้วยัง(Supervisory) • ส่วนควบคุมให้ทุกส่วนย่อยทำหน้าที่ได้ถูกต้องและเหมาะสม
Stored-Program control (SPC) • EWSD10 สามารถใช้เป็นสวิทชิ่ง สำหรับชุมสายท้องถิ่นที่มีขนาด 250,000 เลขหมาย • ชุมสายต่อผ่านท้องถิ่นที่รองรับได้ 60,000 Trunk รวมทั้งใช้เป็นชุมสายร่วมท้องถิ่นและต่อผ่านท้องถิ่น นอกจากนี้สามารถใช้ได้กับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วย • EWSD10 ควบคุมทุก ๆ ส่วนด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งทำงานด้วยความรวดเร็วเพราะได้กระจายหน่วยประมวลผลไปอยู่ตามหน่วยย่อยต่าง ๆ โดยมีส่วนประกอบหลัก ๆ 4 ส่วน
EWSD10 • 1 Access ส่วนนี้ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างอุปกรณ์โทรคมนาคมชนิดต่างๆ หรือ trunk และสวิทชิ่ง network (SN) ซึ่งเป็นระบบสวิทชิ่งแบบดิจิตอล • ทำการแปลงสัญญาณจาก input ต่างๆ กัน เช่น เครื่องโทรศัพท์อนาลอกหรือดิจิตอล, ชุมสายที่เป็นอนาลอกหรือดิจิตอลให้เป็นสัญญาณที่ดิจิตอลสวิทชิ่ง Network ต้องการ • แปลงสัญญาณจากดิจิตอลสวิทชิ่งNetwork เป็น Output ที่เหมาะสม เช่น แปลงเป็นอนาลอก เพื่อป้อนให้กับเครื่องโทรศัพท์อนาลอก
Access ประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆดังนี้ • Digital line unit (DLU) ทำหน้าที่อินเตอร์เฟสกับอุปกรณ์โทรคมนาคม เช่น เครื่องโทรศัพท์อนาลอก ISDN terminal • ทำหน้าที่เป็น concentrator โดยที่ DLU แต่ละหน่วยสามารถให้บริการโทรศัพท์อนาลอก 944 เครื่อง แต่ส่งสัญญาณเสียงไปที่ Line/Trunk Group(LTG) ได้สูงสุดเพียง 120 ช่อง (PCM30 4เส้น)
-Subscriber line module A (SMLA) • ใช้อินเตอร์เฟสกับเครื่องโทรศัพท์อนาลอกมีหน้าที่หลักคือ • ป้อนไฟเลี้ยง -48 โวลต์ให้แก่เครื่องโทรศัพท์ • มีวงจรป้องกันตัวเองเมื่อแรงดันเกิน • สร้างและป้อนสัญญาณกระดิ่งให้แก่ผู้รับ และตัดสัญญาณกระดิ่งเมื่อผู้รับรับสาย • รับรู้การยกหูและวางหูของผู้เรียก • แปลงสัญญาณจากเครื่องโทรศัพท์อนาลอกเป็น PCM30 • ทดสอบ Subscriber line
SMLB • แปลงสัญญาณจาก ISDN terminal เป็น PCM30 • สำหรับ DLU 1 หน่วย สามารถต่อ ISDN terminal ได้ 432 เครื่อง • มีหน่วยประมวลผลของตนเอง
Remote control unit (RCU) • นอกจากจะติดตั้ง DLU ที่ชุมสายแล้วยังสามารถนำไปติดตั้งนอกชุมสายเราเรียกว่า Remote control unit (RCU) RCU 1 หน่วยประกอบด้วย DLU จำนวนสูงสุด 6 ตัว ทำการเชื่อมวงจรไปยัง Line/Trunk Group (LTG) ที่อยู่ที่ชุมสายโดยใช้สายส่ง PCM30 ทำให้ไม่ต้องเดินสาย Subscriber line ในระยะทางไกลเป็นการลดต้นทุน
Line/Trunk Group (LTG) ทำหน้าที่รับสัญญาณ PCM30 จาก DLU หรือ Trunk แล้วทำการ Multiplex เป็นสัญญาณ PCM 128 ช่องส่งด้วยความเร็ว 8 Mbps • Data announcement system (DAS) เป็นระบบแจ้งข้อความที่จำเป็นแก่ผู้เรียกเช่นเวลาที่หมุนไปยังเลขหมายที่ยกเลิกไปแล้วก็จะได้ยินว่า " เลขหมายนี้ได้เปลี่ยนไปแล้ว..."
Terminal equipment (TE) • ทดสอบ Terminal equipment (TE) สามารถตรวจสอบได้ว่ามีเหตุขัดข้องเกิดขึ้น และสามารถระบุสาเหตุและตำแหน่งที่ขัดข้อง
สวิทชิ่ง Network • ทำหน้าที่เชื่อมวงจรโดยเป็นการสวิชท์แบบดิจิตอลโดยมีหน่วยประมวลผลของตนเอง • ดิจิตอลสวิทช์แบ่งเป็นสองอย่างคือ • Space switch การทำงานเหมือนกรณีของอนาลอกสวิทช์ทั่ว ๆ ไปคือทำการต่อวงจร Input ไปยัง Output ที่ต้องการได้ โดยที่สัญญาณในแต่ละ Time Slot ไม่เปลี่ยน • Time switch เป็นการย้ายจากสัญญาณที่อยู่ Time slot หนึ่ง ๆ ไปยัง Time slot ที่ต้องการ
แสดงการสวิทช์จาก Time slot ที่ 3 ของวงจรดิจิตอลที่ 1 ไปยัง Time slot ที่ 17 ของวงจรที่ N จะต้องใช้ Time switch สวิทช์จาก Time slot ที่ 3 ไปยัง Time slot ที่ 17 ก่อนแล้วจึงใช้ Space switch สวิทช์จากวงจรที่ 1 ไปยังวงจรที่ N
Coordination • ทำหน้าที่ประสานให้ทุกส่วนย่อยทำงานสอดคล้องกัน • Coordination processor (CP) เป็นหน่วยประมวลผลกลางที่ควบคุมสั่งการและประสานการทำงานของหน่วยประมวลผลย่อยที่ควบคุมแต่ละหน่วย • External memory (EM) การจัดเก็บข้อมูลใช้ Hard disk และแมกเนติกส์เทป • Operation and maintenance terminal (OMT) คือคอมพิวเตอร์ที่โอเปอเรเตอร์ใช้อินเตอเฟสกับระบบ
System panel (SYP) เป็นแผงเตือนเมื่อเกิดเหตุขัดข้องทั้งในรูปแบบของหลอดไฟและเสียง เพื่อให้ Operator ดำเนินการแก้ไข • Message Buffer (MB) ทำหน้าที่ควบคุมการแลกเปลี่ยน Message ระหว่างหน่วยต่างๆในระบบให้เป็นไปอย่างถูกต้อง • Central clock generator (CCG) เนื่องจากการรับส่งข้อมูลทั้งหมดเป็นแบบ Synchronous จึงต้องมีสัญญาณนาฬิกา ส่วนนี้ทำหน้าที่สร้างสัญญาณนาฬิกา
Signaling ทำการจัดการในส่วนของSignaling ซึ่งเป็นไปตาม CCSS NO.7 โดยมีหน่วยประมวลผลของตนเอง
A simple call through the switch • A calls B in the same switch • A goes off-hook to call B • Call originating is detected by DLU • DLU sends a message to CP via the SN and validates customer A’s line • dial tone is provided to A by LTG • After the first digit is dialed and received by the line module the dial tone is removed • Dialed digits are passed to the CP for analysis • If the dialed number is valid, time slots are assigned for a and B
B’s line is checked for busy/idle status • Power ringing is applied to B if it’s found to be idle • Audible ringing is applied to A’s line • When B answers, a path is provided through the network via previously assigned time slots • If A disconnects the line module detects the on-hook condition and idles the connection