1 / 43

การดำเนินงานตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัม ฯ ในประเทศไทย

การดำเนินงานตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัม ฯ ในประเทศไทย. สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ. อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ.

tieve
Download Presentation

การดำเนินงานตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัม ฯ ในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ ในประเทศไทย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

  2. อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศในการควบคุมการนำเข้าและการส่งออกสารเคมีอันตรายต้องห้ามหรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดและสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง

  3. อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ • อนุสัญญารอตเตอร์ดัมได้รับการรับรอง และเปิดให้มีการลงนามในการประชุม ณ เมืองรอตเตอร์ดัม ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 10-11 กันยายน พ.ศ.2541 • หลังจากนั้นเปิดให้ลงนามที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2541- วันที่ 10 กันยายน 2542 • ปัจจุบันมีประเทศที่ให้สัตยาบัญ152 ประเทศ

  4. อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ ประเทศไทยให้ภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 อนุสัญญาฯมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2547 วัตถุประสงค์หลักของอนุสัญญาฯ เพื่อควบคุมการนำเข้า/การส่งออกสารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัดการใช้อย่างเข้มงวด โดยให้มีการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าให้แก่ประเทศภาคีสมาชิก และแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสารเคมี • ขอบเขตของอนุสัญญาฯ นี้ ใช้กับ • สารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัดการใช้อย่างเข้มงวด • สูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็น • อันตรายอย่างร้ายแรง

  5. บทบาทของประเทศไทย • กรมวิชาการเกษตร เป็นหน่วยงานผู้มีอำนาจของรัฐ (Designated National Authority :DNA) ด้านสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช • กรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานผู้มีอำนาจของรัฐ (Designated National Authority :DNA) ด้านสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรม • กรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานผู้มีอำนาจของรัฐ (Designated National Authority :DNA) ด้านสารเคมีอื่นๆ และเป็นหน่วยประสานงานกลาง (Focal Point )

  6. บทบาทของประเทศไทย • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักคณะกรรมการอาหารและยา กรมศุลกากร กรมองค์การระหว่างประเทศ กรมสนธิสัญญา และกฎหมาย กรมการค้าต่างประเทศ กรมยุโรป การท่าเรือแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  7. ขอบเขตของอนุสัญญาฯ อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ก. ยาเสพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาท ข. สารกัมมันตภาพรังสี ค. กากของเสีย ง. อาวุธเคมี จ. ผลิตภัณฑ์ยาที่ใช้กับคนและสัตว์ ฉ. สารเคมีผสมอาหาร ช. อาหาร ซ. สารเคมีที่ใช้ในการวิจัย

  8. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ก. ยาเสพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

  9. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ข. สารกัมมันตภาพรังสี

  10. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ค. กากของเสีย

  11. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ง. อาวุธเคมี

  12. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ จ. ผลิตภัณฑ์ยาที่ใช้กับคนและสัตว์

  13. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ฉ. สารเคมีผสมอาหาร

  14. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ช. อาหาร

  15. อนุสัญญาฯ นี้ ไม่ใช้กับ ซ. สารเคมีที่ใช้ในการวิจัย

  16. รายชื่อสารเคมีที่ต้องดำเนินการตามกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (43 ชนิด) สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ 28 รายการ • 2,4,5 - T and its salts and esters • aldrin • binapacryl • captafol • chlordane • chlordimeform • chlorobenzilate • DDT • dieldrin 10. Dinitro-ortho-cresol (DNOC) and its salt (such as ammonium salt, potassium salt and sodium salt) 11. Dinoseb and its salts and esters 12. 1,2 - dibromoethane, (EDB) 13. ethylene dichloride 14. ethylene oxide 15. fluoroacetamide 16. HCH (mixed isomers)

  17. * รายชื่อสารเคมีที่ต้องดำเนินการตามกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (43 ชนิด) สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ • 17. heptachlor • 18. hexachlorobenzene • 19. lindane • 20. Mercury compounds, including inorganic mercury compounds, alkyl mercury compounds and alkyloxyalkyl and aryl mercury compounds 21. monocrotophos 22. parathion 23. Pentachlorophenol and its salts and esters 24. Toxaphene tributyltin compounds endosulfan alachor aldicarb

  18. สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่ต้องดำเนินการตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (28 ชนิด)

  19. สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่ต้องดำเนินการตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (28 ชนิด)

  20. รายชื่อสารเคมีที่ต้องดำเนินการตามกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (43 ชนิด) สูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง 3. phosphamidon (soluble liquid formulations of the substance that exceed 1000 g active ingredient/l) 4. methyl - parathion (emulsifiable concentrates (EC) at or above 19.5% active ingredient and dusts at or above 1.5% active ingredient) 1. dustable powder formulations containing a combination of; - benomyl at or above 7% - carbofuran at or above 10% • - thiram at or above 15% • 2. methamidophos (soluble liquid formulations of the substance that exceed 600 g active ingredient/l)

  21. สูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่ต้องดำเนินการตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (4 ชนิด) dustable powder

  22. รายชื่อสารเคมีที่ต้องดำเนินการตามกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (43 ชนิด) 1. asbestos-crocidolite 2. asbestos-actinolite 3. asbestos-anthophyllite 4. asbestos-amosite 5. asbestos-tremolite 6. Polybrominated biphenyls (PBB) 7. Polychlorinated biphenyls (PCB) 8. polychlorinated terphenyls (PCT) 9. tetraethyl lead 10. tetramethyl lead 11. tris (2,3 - dibromopropyl) phosphate สารเคมีอุตสาหกรรม

  23. สารเคมีอุตสาหกรรมที่ต้องดำเนินการตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (11 ชนิด) crocidolite actinolite anthophyllite amosite tremolite

  24. สารเคมีอุตสาหกรรมที่ต้องดำเนินการตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ (11 ชนิด)

  25. พันธกรณีที่ต้องปฏิบัติพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ • ภาคีสมาชิกจะต้องแจ้งข้อมูล มาตรการ กฎระเบียบของประเทศภายใน 90 วัน หลังจากวันที่มาตรการนั้นมีผลบังคับใช้ (ข้อบทที่ 5) • จัดทำข้อเสนอบัญชีรายชื่อสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเพิ่มเติม(ข้อบทที่ 6) • แจ้งตอบรับนำเข้าและดำเนินการตามกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้า (ข้อบทที่ 10) • การประกันว่าไม่ส่งออกสารเคมีไปยังภาคีผู้นำเข้าที่ไม่ได้แจ้งท่าที หรือแจ้งท่าทีชั่วคราว ที่ไม่ได้รวมอยู่ในการตัดสินใจชั่วคราว (ข้อบทที่ 11)

  26. ข้อบทที่ 5 กระบวนการสำหรับสารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัด การใช้อย่างเข้มงวด แจ้งมาตรการด้านกฎระเบียบขั้นสุดท้าย โดยเสนอข้อมูลตามภาคผนวก I เมื่อมาตรการด้านกฎระเบียบขั้นสุดท้ายมีผลบังคับใช้ สำนักเลขาธิการ สำนักเลขาธิการ สำนักเลขาธิการ ประเทศภาคี ประเทศภาคี 1. ภายในไม่เกิน 90 วัน ตรวจสอบว่าการแจ้งนั้นมีข้อมูลครบตามที่กำหนดไว้ในภาคผนวก I หรือไม่ ประเทศภาคี สำนักเลขาธิการ 2. ภายในไม่เกิน 6 เดือน ส่งบทสรุปเกี่ยวกับข้อมูลสารเคมีที่ได้รับแจ้ง ประเทศภาคีอื่นๆ

  27. ข้อบทที่ 5 กระบวนการสำหรับสารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัด การใช้อย่างเข้มงวด ได้รับการแจ้งอย่างน้อยหนึ่งภาคีจากแต่ละภูมิภาคครบ 2 ภูมิภาค 3. สำนักเลขาธิการ พิจารณาและให้คำแนะนำแก่ที่ประชุมใหญ่ภาคีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในภาคผนวก II คณะกรรมการ CRC แสดงความเห็นและให้ข้อสรุปว่าสารเคมีที่เป็นปัญหานั้นควรจะบรรจุไว้ในรายชื่อสารเคมีในภาคผนวก III หรือไม่ ที่ประชุมใหญ่ภาคี เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ภาคผนวก III บัญชีรายชื่ออื่น

  28. สูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง หมายถึง สารเคมีซึ่งอยู่ในสูตรสำหรับการทำสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง โดยสังเกตได้ในระยะเวลาอันสั้น หลังจากได้รับสารนั้นเข้าไป

  29. ข้อบทที่ 6 กระบวนการสำหรับสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช และสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง ภาคีใดๆ ที่เป็นประเทศกำลังพัฒนา ประสบปัญหาจากสูตรผสมของสารเคมี เสนอรายชื่อสูตรผสมของสารเคมีเข้าภาคผนวก III โดยเสนอข้อมูลตามส่วนที่1 ของภาคผนวก IV สำนักเลขาธิการ สำนักเลขาธิการ สำนักเลขาธิการ ประเทศภาคี ประเทศภาคี 1. ตรวจสอบว่าการแจ้งนั้นมีข้อมูลครบตามที่กำหนดไว้ในภาคผนวก IV หรือไม่ สำนักเลขาธิการ ประเทศภาคี 2. ภายในไม่เกิน 6 เดือน ส่งบทสรุปเกี่ยวกับข้อมูลสูตรผสมสารเคมีที่ได้รับแจ้ง ประเทศภาคีอื่นๆ

  30. ข้อบทที่ 6 กระบวนการสำหรับสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง -ได้รับการแจ้งรายชื่อสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์จากภาคีสมาชิก -รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมตามส่วนที่ 2 ของภาคผนวก IV 3. สำนักเลขาธิการ -พิจารณาและให้คำแนะนำแก่ที่ประชุมใหญ่ภาคีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในส่วนที่ 3 ของภาคผนวก IV คณะกรรมการ CRC -แสดงความเห็นและให้ข้อสรุปว่าสารเคมีที่เป็น ปัญหานั้นควรจะบรรจุไว้ในรายชื่อสารเคมีใน ภาคผนวก III หรือไม่ ที่ประชุมใหญ่ภาคี เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ภาคผนวก III บัญชีรายชื่ออื่น

  31. ภาคผนวก IV ส่วนที่ 1 เอกสารจากภาคีสมาชิกผู้เสนอ -ชื่อของสูตรผสมของสารเคมีฯ ที่เป็นอันตราย อย่างร้ายแรง -ชื่อของสารสำคัญ หรือสารประกอบในสูตรผสม -ปริมาณโดยสัมพัทธ์ของสารสำคัญแต่ละอย่าง ในสูตรผสม -ประเภทของสูตรผสม -ชื่อทางการค้าและชื่อผู้ผลิต (ถ้ามี) -รูปแบบการใช้ของสูตรผสมในภาคีสมาชิกผู้เสนอ -บรรยายเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างชัดเจน รวมทั้งผลเสียและวิธีการใช้สูตรผสม -กฎระเบียบและมาตรการด้านการบริหารและอื่นๆ ที่ภาคีสมาชิกผู้เสนอใช้หรือตั้งใจใช้เพื่อตอบโต้ ต่อเหตุการณ์

  32. ภาคผนวก IV ส่วนที่ 2 ข้อมูลที่สำนักเลขาธิการรวบรวม -คุณสมบัติทางเคมี (กายภาพ) พิษวิทยา และ พิษวิทยาสิ่งแวดล้อมของสูตรผสม -การมีอยู่ของข้อจำกัดด้านการใช้ในประเทศ ภาคีสมาชิกอื่น -ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ สูตรผสมในประเทศภาคีสมาชิกอื่น -ข้อมูลที่ยื่นโดยภาคีสมาชิกอื่น องค์การ ระหว่างประเทศ องค์กรเอกชน หรืออื่นๆ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

  33. ภาคผนวก IV ส่วนที่ 2 ข้อมูลที่สำนักเลขาธิการรวบรวม (ต่อ) -การประเมินความเสี่ยงและอันตราย (ถ้ามี) -ข้อมูลที่บ่งบอกว่ามีการใช้สูตรผสมมากน้อย แค่ไหน เช่น จำนวนครั้งของการขึ้นทะเบียน การผลิต ปริมาณการจำหน่าย (ถ้ามี) -สูตรผสมอื่นๆ ของสารเคมีฯ ที่เป็นปัญหา และ เกิดเหตุการณ์เกี่ยวข้องกับการใช้สูตรผสม (ถ้ามี) -ทางเลือกในการควบคุมแมลงศัตรูพืช -ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  34. ภาคผนวก IV ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์ในการบรรจุรายชื่อสูตรผสมของสารเคมีฯ ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเข้าไปในภาคผนวก III -ความน่าเชื่อถือของหลักฐานที่บ่งชี้ว่า การใช้ สูตรผสมตามวิธีที่ได้รับการยอมรับ และปฏิบัติกัน โดยทั่วไปในภาคีสมาชิกที่เสนอเรื่องเข้ามานั้น ก่อให้เกิดเหตุการณ์ตามที่รายงาน -นัยสำคัญของเหตุการณ์นั้นต่อประเทศภาคี สมาชิกอื่น ซึ่งมีภูมิประเทศ เงื่อนไข และ รูปแบบการใช้สูตรผสมที่เหมือนกัน

  35. ภาคผนวก IV ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์ในการบรรจุรายชื่อสูตรผสมของสารเคมีฯ ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเข้าไปในภาคผนวก III (ต่อ) -การมีอยู่ของข้อจำกัดด้านการใช้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีและเทคนิคซึ่งอาจไม่มีการใช้กันอย่าง กว้างขวางในประเทศภาคีสมาชิกที่ขาดโครงสร้าง พื้นฐานที่จำเป็น -นัยสำคัญของผลที่ได้รับรายงานในแง่ของปริมาณ การใช้สารเคมีตามสูตรผสม -การเจตนาใช้สารเคมีไปในทางที่ผิดไม่ได้มีเหตุผล เพียงพอที่ทำให้ต้องบรรจุสูตรผสมสารเคมีเข้าไปใน ภาคผนวก III

  36. ข้อบทที่ 10 พันธกรณีเกี่ยวกับการนำเข้าสารเคมีซึ่งอยู่ในบัญชี รายชื่อสารเคมีในภาคผนวก III ของอนุสัญญาฯ เมื่อสารเคมีใดๆ ถูกบรรจุเข้าในรายชื่อสารเคมีในภาคผนวก III เอกสารแนวทางการตัดสินใจ (Decision Guidance Documents: DGD) คือ เอกสารที่จัดทำโดยคณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารเคมี เพื่อนำเสนอรายละเอียดของข้อมูลสารเคมีชนิดนั้นๆ เพื่อบรรจุไว้ในภาคผนวก III ภาคีจะต้องใช้มาตรการที่เหมาะสมทางการบริหารและทางกฎหมายเพื่อให้เกิดการตัดสินใจอย่างทันเวลาในเรื่องการนำเข้าสารเคมีในภาคผนวก III ภายในไม่เกิน 9 เดือนนับจากวันที่มีการส่งเอกสารแนวทาง การตัดสินใจ (DGD) ภาคีจะต้องแจ้งท่าทีของตนเกี่ยวกับการนำเข้าสารเคมีดังกล่าว ให้แก่สำนักเลขาธิการอนุสัญญาฯ ทราบ สำนักเลขาธิการจะต้องส่งคำร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษรในโอกาสแรกแก่ภาคีที่ไม่ได้แจ้งท่าที ให้แจ้งท่าทีของตน

  37. ข้อบทที่ 10 พันธกรณีเกี่ยวกับการนำเข้าสารเคมีซึ่งอยู่ในบัญชี รายชื่อสารเคมีในภาคผนวก III ของอนุสัญญาฯ การแจ้งท่าทีเกี่ยวกับการนำเข้าสารเคมีให้แก่สำนักเลขาธิการ การตัดสินใจขั้นสุดท้าย ท่าทีชั่วคราว ยินยอมให้นำเข้า ไม่ยินยอมให้นำเข้า ยินยอมให้นำเข้าชั่วคราว ไม่ยินยอมให้นำเข้าชั่วคราว โดยต้องทำตามเงื่อนไข ไม่มีเงื่อนไข โดยต้องทำตามเงื่อนไข ไม่มีเงื่อนไข ทุก 6 เดือน สำนักเลขาธิการจะต้องแจ้งแก่ทุกภาคีถึงท่าทีที่ตนได้รับ และแจ้งถึงการไม่ได้แจ้งท่าทีของบางภาคีด้วย เวลาชั่วคราว หมายถึง ระยะเวลาที่ภาคีกำหนดขึ้นชั่วคราวเพื่อรอการตัดสินใจ หรือมีคำร้องขอต่อสำนักเลขาธิการหรือต่อภาคีที่แจ้งการใช้มาตรการด้านกฎระเบียบขั้นสุดท้ายให้ส่งข้อมูลเพิ่มเติม

  38. ข้อบทที่ 12 การแจ้งการส่งออก ภาคีผู้ส่งออก ภาคีผู้นำเข้า เมื่อสารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดในประเทศของตนจะถูกส่งออก ทบทวนถ้าหากมีการใช้มาตรการด้านกฎระเบียบขั้นสุดท้าย ต้องปรับเนื้อหาให้ทันสมัย แจ้งรับรองภาคีผู้ส่งออกว่าได้รับการแจ้งการส่งออกแล้ว แจ้งการส่งออกในต้นปีปฏิทิน ภาคีผู้ส่งออกนั้นจะต้องแจ้งการส่งออกของตนเป็นครั้งที่สอง และใช้ความพยายามเพื่อให้ภาคีผู้นำเข้าได้รับการแจ้งครั้งที่สองของตน หากภาคีผู้ส่งออกยังไม่ได้รับการรับรองการได้รับการแจ้งการส่งออกจากภาคีผู้นำเข้าภายใน 30 วัน

  39. ประเทศได้อะไรจากการเป็นภาคีสมาชิกประเทศได้อะไรจากการเป็นภาคีสมาชิก • สนับสนุนการปฏิบัติงานในการควบคุมสารเคมีอันตรายตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากสารเคมี • ควบคุมการนำเข้าการส่งออกสารเคมีอย่างเข้มงวดและเป็นระบบ ป้องกันมิให้มีการลักลอบทิ้งสารเคมีในประเทศ • รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีที่ถูกห้ามใช้และจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดในต่างประเทศเพื่อนำมาพิจารณาทบทวนความจำเป็นในการใช้ และประกอบการพิจารณาควบคุมสารเคมีอันตรายในประเทศให้เกิดความปลอดภัย

  40. ประเทศได้อะไรจากการเป็นภาคีสมาชิก (ต่อ) • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ข้อมูลสารเคมีในการแจ้งการส่งออกของภาคีผู้ส่งออกในการประเมินความเสี่ยงในการใช้สารเคมีอันตรายบางชนิดเพื่อควบคุมการใช้สารเคมีในประเทศ • มีสิทธิเสนอบัญชีรายชื่อสูตรผสมสารเคมีที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง • ได้รับความร่วมมือด้านวิชาการและการเงินในการจัดการสารเคมี • แสดงบทบาทในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก ภายใต้ Agenda 21 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสารเคมี

  41. ประเทศได้อะไรจากการเป็นภาคีสมาชิก (ต่อ) • จัดตั้งคณะอนุกรรมการอนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อทำหน้าที่พิจารณารายละเอียดของอนุสัญญา กำหนดท่าทีของประเทศในการเข้าร่วมประชุมรัฐภาคี การเสนอแนะรายชื่อสารเคมีเพิ่มเติมเข้าสู่กระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าเพื่อการปฏิบัติตามพันธกรณีอนุสัญญา

  42. สิ่งที่ประเทศไทยต้องดำเนินการต่อไปสิ่งที่ประเทศไทยต้องดำเนินการต่อไป • กรมควบคุมมลพิษ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดทำแผนจัดการระดับชาติเพื่อการปฏิบัติตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ โดยกำหนดแผนงาน และกิจกรรม อาทิ • เพิ่มความเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายและการควบคุมตรวจสอบการนำเข้าสินค้าเคมีให้เป็นไปตามพันธกรณี • รวบรวมข้อมูลอุบัติการณ์ความเป็นพิษของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ในการสนับสนุนการเสนอชื่อสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง • เผยแพร่ข้อมูลสารเคมีที่ได้รับผ่านกลไกของอนุสัญญาฯ และเสริมสร้างความรู้ความตระหนักเกี่ยวกับการจัดการสารเคมี

  43. สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ โทรศัพท์: 0 22982439 โทรสาร: 0 22982442 e-mail: chem@pcd.go.th http://www.pcd.go.th http://www.pops.go.th ศูนย์ประสานงานอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ

More Related