920 likes | 1k Views
CARBOHYDRATE. Carbon, Hydrogen, Oxygen. C n (H 2 O) n. aldehyde or ketone. functional group. บทบาทของ CHO ในอาหาร. แหล่งพลังงาน สารให้ความหวาน Textural modification สารตั้งต้น ทำให้เกิดกลิ่นและสี. ประเภทของ CHO. แบ่งตามสมบัติทางกายภาพและเคมี. 1. Soluble CHO. Monosaccharide
E N D
CARBOHYDRATE Carbon, Hydrogen, Oxygen Cn(H2O)n aldehyde or ketone functional group
บทบาทของ CHOในอาหาร • แหล่งพลังงาน • สารให้ความหวาน • Textural modification • สารตั้งต้น ทำให้เกิดกลิ่นและสี
ประเภทของ CHO แบ่งตามสมบัติทางกายภาพและเคมี 1. Soluble CHO Monosaccharide Oligosaccharide 2. Non-soluble CHO Polysaccharide 2.1 Non-digestible polysaccharide ex. Cellulose 2.2 Metabolizable CHO ex. Starch 2.3 textural modification ex. Pectin, gum
ประเภทของ CHO แบ่งตามลักษณะโมเลกุล 1. Monosaccharide : glucose, fructose, galactose 2. Oligosaccharide : sucrose, maltose, lactose Mono 2-10 unit glycosidic bond 3. Polysaccharide : starch Mono >10 unit linear and branch chain
Monosaccharide แบ่งตามจำนวนอะตอมของคาร์บอน carbon 3 atom Triose carbon 4 atom Tetrose carbon 5 atom Pentose carbon 6 atom Hexose แบ่งตาม functional group aldehyde (-CHO) Aldose ketone (>C=O) Ketose
Monosaccharide Aldose Ketose Triose (C3H6O3) Glycerose Dihydroxyacetone Tetrose (C4H8O4) Erythrose Erythrulose Pentose (C5H10O5) Ribose Ribulose Hexose (C6H12O6) Glucose Fructose Galactose Mannose
โครงสร้าง monosaccharide Asymmetric carbon มี 2 ลักษณะ : D- and L-form D-Glycerose L-Glycerose
โครงสร้าง monosaccharide • จำนวน isomer = 2n n = จำนวน Asymmetric carbon แต่ละ isomer จะเป็น mirror image ซึ่งกันและกัน Ex. Aldohexose มี Asymmetric carbon 4 atom จำนวน isomer = 24 = 16 D-form 8 รูป L-form 8 รูป
โครงสร้าง monosaccharide • ตำแหน่ง OH ที่ต่ออยู่กับ Asymmetric carbon ต่างกันเพียง ตน. เดียว Epimer
Monosaccharide ที่พบมากในอาหาร Pentose (C5H10O5) • พบในรูปอิสระน้อยมาก • ส่วนใหญ่เป็นองค์ประกอบของ Polysaccharide • เช่น xylose, arabinose, ribose Hexose (C6H12O6) Glucose • ถูกสังเคราะห์จาก Photosynthesis • พบทั่วไปในรูปอิสระในส่วนต่างๆ ของพืช • เป็นน้ำตาลที่สำคัญในเลือดของมนุษย์ • เป็น อปก ในโมเลกุลของ Oligosaccharide และ • Polysaccharide เช่น maltose, sucrose, lactose, starch • - Glucose ทางการค้า มาจาก hydrolysis ของ starch
Fructose or Levulose • เป็น ketose เพียงชนิดเดียว ที่มีความสำคัญในอาหาร • พบในผลไม้ และน้ำผึ้ง • มีความหวานมากที่สุด • D-form สามารถถูก metabolized ในร่างกายได้ • -furanose (4%), -furanose (21%), • -pyranose (trace), -pyranose (75%)
Galactose • ไม่ปรากฏเป็นอิสระในธรรมชาติ หรือพบน้อยมาก • เป็น อปก สำคัญในโมเลกุลของ lactose ในน้ำนม Mannose • ในธรรมชาติพบน้อยมาก • ส่วนใหญ่พบในรูปของ polymer
อนุพันธ์ของ Hexose Sugar alcohol or polyol
Deoxy sugar เป็น Aldohexose ที่หมู่ CH2OH ถูกแทนที่ด้วย CH3 Ex. 2-Deoxy-D-ribose เป็นองค์ประกอบในโมเลกุลของ nucleotide ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ DNA Sugar acid oxidized -COOH Uronic acid -CHO Glucuronic acid Glucose Mannuronic acid Mannose Galacturonic acid Galactose
Amino sugar -OH ถูกแทนที่ด้วย –NH2 ที่ ตน ที่ 2 ของ aldohexose Ex. D-glucosamine ได้มาจาก hydrolysis ของ chitin D-galactosamine พบในกระดูกอ่อน Phosphate sugar เกิดจาก –OH ถูก esterified ด้วย phosphate acid phosphorilation Ex. Glucose-6-phosphate Fructose-6-phosphate Glycolysis
Oligosaccharide -H2O C6H12O6 + C6H12O6 C12H22O11 1. Disaccharide Mono 2 โมเลกุล 1.1 Homogeneous Disaccharide : maltose, cellobiose, isomaltose, gentibiose, trehalose 1.2 Heterogeneous Disaccharide : sucrose, lactose, lactulose, melibiose Mono 3 โมเลกุล 2. Trisaccharide 2.1 Homogeneous Trisaccharide : maltotriose 2.2 Heterogeneous Trisaccharide : manninotriose, raffinose
Oligosaccharide 3. Tetrasaccharide 4. Dextrin Mono 4-10 โมเลกุล
หน้าที่/บทบาท Mono และ Oligosaccharide ในอาหาร 1. Hygroscopicity • structure • purity structure %water absorption at various RH & time (20C) 60%,1hr 60%, 9days 100%,25days D-glucose 0.07 0.07 14.50 D-fructose 0.28 0.63 73.40 Sucrose 0.04 0.03 18.40 Invert sugar 0.19 5.10 76.60 Maltose 0.80 7.00 18.40 Lactose 0.54 1.20 1.40 ที่มา: Fennema (1990)
หน้าที่/บทบาท Mono และ Oligosaccharide ในอาหาร structure ไม่ต้องการให้ดูดน้ำ เลือกน้ำตาลที่ดูดน้ำได้น้อย ไม่ต้องการให้คายน้ำ เลือกน้ำตาลที่ดูดน้ำได้ดี purity Impure sugar ดูดน้ำได้มาก และเร็วกว่า pure sugar Water binding capacity Humectant Hygroscopicity Quality
หน้าที่/บทบาท Mono และ Oligosaccharide ในอาหาร 2. Binding of flavor sugar-water + flavorant sugar-flavorant + water 3. solute เชื่อมโมเลกุลของสารอาหารต่างๆ • spray drying • freeze drying
หน้าที่/บทบาท Mono และ Oligosaccharide ในอาหาร 4. Sweetness
หน้าที่/บทบาท Mono และ Oligosaccharide ในอาหาร 4. Browning of food 4.1 non-oxidative reaction - caramelization - maillard reaction 4.2 oxidative reaction - enzymatic browning reaction
Caramelization sugar catalyst (acid, base, salt) dehydrate Unsaturated ring Conjugated bond fragmentation condensation polymer (brown pigment) aroma
Caramelization Catalyst : specific type of caramel color ammonium bisulfite Color of cola drink ammonium ion Brewer color of beer Reaction rate Temp pH
Millard reaction • Rxn ระหว่าง Aldose กับ Amino acid ก่อให้เกิด • Aldosylamino acid ด้วยการเกิด Aldol Condensation • เกิด Amadori rearrangement ได้ ketose amino acid • 3. มีการรวม 2 โมเลกุลของ ketose amino acid เป็น • Diketose amino acid • Ketose amino acid และ Diketose amino acid สลายตัวให้ • Carbonyl intermediate • สารประกอบประเภท Carbonyl compound จะจับกับ • amino acid ที่เหลืออยู่ ให้ browning pigment
Millard reaction Aldose Monoketose amino acid Diketose amino acid Aldosyl amino acid Amino acid Deoxyhexosulose Diulose Unsaturated hexosulose
Millard reaction Reaction rate Temp pH Aw Control • SO2 / Sulfite • Temp ต่ำ • ลด pH (<5) • เปลี่ยนน้ำตาล (non-reducing sugar) • ลดปริมาณ sugar • insoluble protein
Enzymatic browning reaction (PPO) Cu R R Monophenol O-quinone 1 H 2 R
Enzymatic browning reaction Control • คัดเลือกพันธุ์ • ความร้อน • vitamin C • acid • SO2/ bisulfite • อื่นๆ