1 / 15

การนำเข้าและส่งออกสินค้าตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมส์

การนำเข้าและส่งออกสินค้าตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมส์. สารเคมีจำนวน 43 รายการ (ต่างประเทศให้ความสำคัญ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบ) ส่วนใหญ่ถูกควบคุมตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (ยกเว้นบางรายการที่ยังไม่ถูกควบคุม เช่น tributyltin compounds) กรมศุลกากรกำหนดพิกัดรหัสสถิติไว้แล้ว (ตามเอกสารที่แจก).

tiger-glass
Download Presentation

การนำเข้าและส่งออกสินค้าตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเข้าและส่งออกสินค้าตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมส์ • สารเคมีจำนวน 43 รายการ (ต่างประเทศให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังและตรวจสอบ) • ส่วนใหญ่ถูกควบคุมตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (ยกเว้นบางรายการที่ยังไม่ถูกควบคุม เช่น tributyltin compounds) • กรมศุลกากรกำหนดพิกัดรหัสสถิติไว้แล้ว (ตามเอกสารที่แจก)

  2. ปัญหาที่พบในการนำเข้าสินค้าตามอนุสัญญารอตเตอร์ดัมส์ ข้อมูลแจ้งการส่งออกจากต่างประเทศ ไม่ตรงกับข้อมูลการนำเข้าของไทยจาก 3 หน่วยงานที่เป็น DNAs (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กรมวิชาการเกษตร และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา)

  3. ปัญหาที่พบในการนำเข้าสินค้าตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมส์ในส่วนของกรมศุลกากร • ข้อมูลสถิติการนำเข้าส่งออกของกรมศุลกากรไม่ตรงกันกับทั้ง 3 หน่วยงาน อาจมีสาเหตุจาก • - เนื่องจากอากรส่วนใหญ่เป็น 0 % ผู้นำเข้าที่มีใบอนุญาตเมื่อใส่เลขที่ใบอนุญาตก็สามารถผ่านระบบได้ มักจะไม่ค่อยตระหนักในการใส่รหัสสถิติสินค้าให้ถูกต้อง อาจทำให้มีการใส่รหัสสถิติสินค้าที่เป็นของตามอนุสัญญาฯ ได้

  4. ปัญหาที่พบในการนำเข้าสินค้าตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมส์ในส่วนของกรมศุลกากร • กรณีสินค้าที่เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 มีข้อมูลสถิติการนำเข้า เนื่องจาก • - สินค้าห้ามมีการนำเข้า เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบเฉพาะกรณีเพื่อใช้เป็นสารมาตรฐานในการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ( มีปริมาณเล็กน้อย) • กรณีสินค้าที่เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ผู้นำเข้าที่มีใบอนุญาตเมื่อใส่เลขที่ใบอนุญาตก็สามารถผ่านระบบได้ โดยนำรหัสสถิติสินค้าที่เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 มาใช้ในการผ่านพิธีการ

  5. หมายเลขของ CAS: หมายเลขทะเบียนของ Chemical Abstracts Service – เป็นหมายเลขเฉพาะ มีรูปแบบเป็น (XXXX)XX-XX-X, โดยที่ X จะหมายถึงเลขใดก็ได้ระหว่าง 0-9 ซึ่งเป็นหมายเลขตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขทั้งชุด หมายเลขของ EC (EINECS): หมายเลขทะเบียนของยุโรป - เป็นหมายเลขเฉพาะ YYY-YYY-Y, โดยที่ Y นี้อาจะเป็นเลขใดก็ได้ระหว่าง 0 ถึง 9 ซึ่งเป็นหมายเลขตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขทั้งชุด หมายเลขของ UN : หมายเลขสหประชาชาติสำหรับสารเคมีอันตราย UN ZZZZ หรือ ZZZZ โดยที่ Z นี้อาจจะเป็นเลขใดก็ได้ระหว่าง 0 ถึง 9 อาจจะไม่เป็นหมายเลขเฉพาะ (หมายเลข UN เดียวกันอาจใช้กับสารเคมีหลายชนิด)

  6. หมายเลข EINECS จะพบระบุอยู่ในหัวข้อที่ 15 ของMSDS

  7. การตรวจสอบฉลากสินค้าที่นำเข้า โดยใช้หมายเลข UN No. 2771

  8. ค้นข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับสารเคมี: เอกสารรายละเอียดจำเพาะ

  9. แนวทางแก้ไขปัญหา • ต้องมีการตรวจสอบรหัสสถิติสินค้าก่อนผ่านพิธีการ สินค้าตามอนุสัญญา ฯ 43 รายการ • ส่วนใหญ่เป็น • กลุ่มสารเคมีที่ใช้ยาฆ่าแมลงและปราบศัตรูพืชเป็นของตามประเภทพิกัด ฯ3808.50 • เคมีตัวเดี่ยว ตอนที่ 29 • Asbestos ตอนที่ 25 และ 68 ( แต่ พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ไม่ควบคุม Asbestos ในตอนที่ 68

More Related