1 / 45

ลุ่มน้ำปัตตานี

กรมชลประทาน สำนักชลประทานที่ 17. Royal Irrigation Department. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา. ลุ่มน้ำปัตตานี. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา. ลุ่มน้ำปัตตานี. บทที่ 1. บทนำ. วัตถุประสงค์การจัดทำแผนพัฒนา. ลุ่มน้ำปัตตานี. 1) เพื่อรวบรวม ศึกษา และทบทวน.

Download Presentation

ลุ่มน้ำปัตตานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมชลประทาน สำนักชลประทานที่ 17 Royal Irrigation Department โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี

  2. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 1 บทนำ

  3. วัตถุประสงค์การจัดทำแผนพัฒนาวัตถุประสงค์การจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี 1) เพื่อรวบรวม ศึกษา และทบทวน 2) เพื่อวิเคราะห์ทบทวนความต้องการน้ำด้านอุปโภค-บริโภค การเกษตร การอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และการรักษาระบบนิเวศ 3) เพื่อรวบรวมและศึกษาปัญหาสาเหตุที่เกิดจากน้ำและแนวทางการแก้ไข 4)เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาและแผนงานดำเนินการ ของงานพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำทุกประเภทและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  4. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

  5. ลักษณะทางกายภาพของ ลุ่มน้ำปัตตานี ลุ่มน้ำปัตตานีมีพื้นที่ลุ่มน้ำรวมทั้งสิ้น 3,858 ตร.กม. มีพื้นที่ครอบคลุมจังหวัดยะลา,จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาสกับจังหวัดสงขลาเป็นบางส่วนซึ่งลุ่มน้ำปัตตานีมีลุ่มน้ำย่อย 2 ลุ่มน้ำคือ ลุ่มน้ำปัตตานีตอนบนและลุ่มน้ำปัตตานีตอนล่าง ดังแสดงตารางดังนี้ ตารางแสดงพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  6. ปริมาณน้ำต้นทุน แผนที่แสดงปริมาณน้ำท่ารายเดือนเฉลี่ยของสถานีวัดน้ำท่าในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  7. ปริมาณน้ำต้นทุน หน่วย ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการกระจายตัวของน้ำท่ารายเดือนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาคใต้

  8. ความต้องการน้ำ • ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีสามารถจำแนกความต้องการใช้น้ำตามประเภทกิจกรรม • การใช้น้ำได้ 8 ประเภทดังนี้ คือ • (1) ความต้องการน้ำเพื่อการอุปโภค - บริโภค • ความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรในเขตชลประทาน • ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทาน • ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม • ความต้องการน้ำเพื่อการท่องเที่ยว • ความต้องการใช้น้ำเพื่อการปศุสัตว์ • ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • ความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำ

  9. ความต้องการน้ำ ซึ่งสามารถสรุปปริมาณความต้องการน้ำในปัจจุบันของพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีในสัดส่วน ดังตารางต่อไปนี้ ตารางสรุปปริมาณความต้องการน้ำในปัจจุบันของพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ล้าน ลบ.ม. / ปี ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  10. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบันโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบัน ปัจจุบันลุ่มน้ำปัตตานีมีโครงการพัฒนาแหล่งน้ำหลายโครงการโดยมีรายละเอียดจำนวนโครงการ ความจุเก็บกัก และพื้นที่รับประโยชน์ในแต่ละประเภท ซึ่งสรุปรายละเอียดได้ดังนี้ ตารางแสดงจำนวนโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบันในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  11. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 3 การสำรวจข้อมูลในระดับตำบล

  12. ข้อมูลทั่วไป โดยในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ได้ดำเนินการสำรวจเก็บข้อมูลจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นโดยมีรายละเอียดข้อมูลที่จัดเก็บสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ ตารางสรุปข้อมูลพื้นฐานทั่วไปในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กชช.2ค, กรมทรัพยากรน้ำ, GIS,แบบสำรวจ

  13. แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลระดับตำบลแบบฟอร์มสำรวจข้อมูลระดับตำบล

  14. ข้อมูลกิจกรรมการใช้น้ำข้อมูลกิจกรรมการใช้น้ำ การสำรวจเก็บข้อมูลด้านแหล่งน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่ได้จากแบบสำรวจเก็บข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ได้จำแนกประเภทของแหล่งน้ำผิวดินออกเป็น 7 ประเภท โดยดำเนินการเก็บข้อมูลในส่วนของปริมาณการเก็บกักน้ำและพื้นที่รับประโยชน์สรุปดังตารางต่อไปนี้ ตารางสรุปแหล่งน้ำแยกตามประเภทในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา: กรมทัพยากรน้ำ กระทรวงทรัยยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  15. ปัญหาน้ำท่วม พื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยในลุ่มน้ำปัตตานีเป็นรายตำบล สรุปได้ว่าในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีมีจำนวนพื้นที่เสี่ยงทั้งหมด 53 ตำบล มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยในระดับสูง 7ตำบล ระดับปานกลาง 18 ตำบล เสี่ยงต่ำ 3 ตำบล และไม่เสี่ยง 25 ตำบล ซึ่งสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ ตารางสรุปข้อมูลจำนวนตำบลที่เสี่ยงต่ออุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กชช. 2ค 2550

  16. ปัญหาน้ำเสีย การสำรวจเก็บข้อมูลด้านปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี พบว่า คุณภาพน้ำในแม่น้ำปัตตานีมีคุณภาพเสื่อมโทรม เนื่องจากได้รับการปนเปื้อนจากน้ำทิ้งของชุมชน โดยสาเหตุสำคัญเกิดจาก ระบบบำบัดน้ำเสียที่ก่อสร้างแล้วเสร็จทำงานไม่มีประสิทธิภาพ จากการสำรวจเก็บข้อมูล ได้จำแนกคุณภาพน้ำตามประเภทของกิจกรรมการใช้น้ำเป็น 3 ประเภท ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ตารางสรุปข้อมูลคุณภาพน้ำจำแนกตามกิจกรรมการใช้น้ำในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กชช. 2ค 2550

  17. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 4 การการวิเคราะห์ความสมดุลน้ำ

  18. ความต้องการน้ำนอกภาคเกษตรความต้องการน้ำนอกภาคเกษตร • ความต้องการน้ำเพื่อการปศุสัตว์ จากการคาดคะเนของปศุสัตว์ในอนาคตโดยพิจารณาจากการขยายตัวโดยในการศึกษานี้พิจารณาใช้ค่า ร้อยละ 2 ต่อปี รายละเอียดจำนวนสัตว์เลี้ยงในแต่ละลุ่มน้ำแสดงไว้ในตารางต่อไปนี้ ตาราง สรุปจำนวนสัตว์เลี้ยงแต่ละประเภทต่าง ๆ รายลุ่มน้ำย่อย หมายเหตุ : ข้อมูลจากกรมปศุสัตว์ (ปี พ.ศ. 2548)

  19. ความต้องการน้ำในพื้นที่เกษตรในเขตชลประทานความต้องการน้ำในพื้นที่เกษตรในเขตชลประทาน ตารางความต้องการน้ำเพื่อเพาะปลูกในเขตชลประทานสภาพปัจจุบัน แยกตามรายลุ่มน้ำย่อย หมายเหตุ : ฤดูฝนนับตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง ธันวาคม ฤดูแล้ง นับตั้งแต่ เดือน มกราคม ถึง เมษายน ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  20. ความต้องการน้ำในพื้นที่เกษตรนอกเขตชลประทานความต้องการน้ำในพื้นที่เกษตรนอกเขตชลประทาน ตารางความต้องการน้ำเพื่อเพาะปลูกนอกเขตชลประทานสภาพปัจจุบัน แยกตามรายลุ่มน้ำย่อย หมายเหตุ : ฤดูฝนนับตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง ธันวาคม ฤดูแล้ง นับตั้งแต่ เดือน มกราคม ถึง เมษายน ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  21. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี

  22. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 5 การจัดทำยุทธศาสตร์และเป้าหมายการพัฒนาแหล่งน้ำ

  23. แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ขั้นตอนการจัดทำแผนมีดังนี้ (1) กำหนดพื้นที่ศึกษา รวบรวม ข้อมูล (2) ศึกษานโยบายและแผนของชาติ (3) การศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ (4) การศึกษาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (หรือ SWOT Analysis) (5) เน้นการมีส่วนร่วมและระดมความคิดเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (6) จัดทำวิสัยทัศน์ของลุ่มน้ำ พันธกิจ เป้าหมาย ประเด็นกลยุทธ์ จัดทำแผนยุทธศาสตร์กำหนด ตัวชี้วัดความสำเร็จของการพัฒนา และกำหนดมาตรการเพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการจัด ทำแผนรวม • ศึกษาสถานภาพในแต่ละลุ่มน้ำสาขา โดยการวิเคราะห์ระดับความรุนแรงและความวิกฤต ในด้านต่างๆ (8) การจัดระดับความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ในแต่ละลุ่มน้ำสาขา

  24. แนวทางและขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแนวทางและขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

  25. ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ 1. อุตสาหกรรมอาหาร ฮาลาล 1. เพิ่มมูลค่าการส่งออก อาหารฮาลาล 1. การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหารฮาลาล จ.ปัตตานี เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล การศึกษา นานาชาติ การค้าชายแดนกับ ประเทศเพื่อนบ้าน และโลก มุสลิม บนพื้นฐานแห่งคุณภาพ ชีวิตที่ดี และดินแดนแห่สันติสุข 2. การสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางอาหารฮาลาล 3.เพิ่มรายได้จากการ ท่องเที่ยว / จำนวนนักท่องเที่ยว 2. การค้าชายแดนและ การท่องเที่ยว 5. การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา 7. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว รูป โครงสร้างแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ ลุ่มน้ำปัตตานีประกอบด้วย จังหวัดหลัก 4 จังหวัดภายในลุ่มน้ำ ได้แก่ จังหวัด สงขลา ปัตตานี ยะลา และจังหวัดนราธิวาสโดยมีรายละเอียดของวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ตลอดจนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ของ กลุ่มจังหวัด /จังหวัด ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ ดังรูป

  26. ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 1.1 การพัฒนาการวิจัยและข้อมูลยางพารา 1.2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร 1.3 การเพิ่มปริมาณการใช้และการสร้างมูลค่าเพิ่มจากยางพารา 1.4 พัฒนาระบบธุรกิจการค้ายางพารา 3.1 การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามกลุ่มศักยภาพ 2.1 การพัฒนาศักยภาพทางการขนส่งสองฟากฝั่งทะเล(อันดามัน -อ่าวไทย) 2.3 การสร้างเครือข่ายทางการตลาด 3.2 การส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว 3. สามารถเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวให้เป็นสาขาสำคัญของผลิตภัณฑ์กลุ่มจังหวัด 1.เป็นกลุ่มลุ่มน้ำในระดับโลกด้านยางพารา 2. เพิ่มมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ 2. เป็นศูนย์กลางการค้าและบริการเชื่อมโยงภาคใต้กับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชีย 3.เป็นเมืองท่องเที่ยวและกีฬาในระดับมาตรฐานสากล 1. เป็นศูนย์กลางยางพาราโลก ศูนย์กลางยางพาราโลก เมืองท่าสองทะเล เมืองธุรกิจการค้า การท่องเที่ยว และการศึกษาของภาคใต้ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ รูปที่ 5.3 -2 โครงสร้างแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดสงขลา ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ

  27. แผนยุทธศาสตร์และมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแผนยุทธศาสตร์และมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี สามารถแบ่งยุทธศาสตร์ที่จำเป็นได้ 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1) ยุทธศาสตร์การจัดการน้ำ 2) ยุทธศาสตร์การจัดการกลางน้ำ 3) ยุทธศาสตร์การจัดการท้ายน้ำ 4) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ

  28. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 6 แผนงานและโครงการ

  29. แนวทางและขั้นตอนการจัดทำแผนงานและโครงการแนวทางและขั้นตอนการจัดทำแผนงานและโครงการ ขั้นตอนการจัดทำแผนงานและโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการบริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี สรุปได้ดังนี้ (1) การรวบรวม ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (2) การวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนาและข้อจำกัดของลุ่มน้ำ โดยพิจารณา จากข้อมูลพื้นฐาน (3) การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ (4) จัดทำแผนทางเลือกในการบริหารจัดการน้ำและ การวิเคราะห์ทางเลือก (5) การจัดทำแผนงาน โครงการแผนงานและโครงการ ทั้งหมดที่รวบรวมจาก หน่วยงานต่างๆ

  30. แนวคิดและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานโครงการแนวคิดและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานโครงการ การจัดทำแผนงานโครงการปฏิบัติการไม่สามารถจัดโครงการที่มีอยู่ทั้งหมด ให้ดำเนินการได้ในคราวเดียวกัน เนื่องจากกำลังคนและงบประมาณการลงทุนมีจำกัด การเลือกโครงการเพื่อดำเนินการก่อนหลัง พิจารณาจากเกณฑ์การจัดลำดับความ สำคัญของโครงการซึ่งมีเกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญของโครงการ ดังนี้ • (1) จัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับแผนทางเลือกการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ • (2) จัดลำดับความสำคัญของโครงการ • พิจารณาความสอดคล้องของการพัฒนาโครงการกับความ • เร่งด่วน และความรุนแรงของปัญหา • กรณีที่หน่วยงานต่างๆ มีการจัดระยะการพัฒนาโครงการไว้ • แล้วจะปรับแผนตามหน่วยงานนั้นๆ ทั้งนี้จะพิจารณาถึงความสอดคล้องกับความเร่งด่วนของปัญหาด้วย • (5) โครงการด้านการบริหารจัดการและโครงการที่ไม่ใช้ สิ่งก่อสร้าง จะวางแผนให้เริ่มดำเนินการตั้งแต่แผนระยะแรก

  31. สรุปแผนงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำสรุปแผนงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ • ในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี • แผนงานตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการลุ่มน้ำปัตตานีได้พิจารณาแผนงาน โดยแยกเป็นแผนงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำของกรมชลประทาน แผนงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำของหน่วยงานอื่น ๆ และแผนงานโครงการก่อสร้างระบบประปาระดับท้องถิ่นซึ่งสรุปรายละเอียดดังนี้ • ตารางสรุปแผนงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  32. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี บทที่ 7 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

  33. สรุปความต้องการน้ำ ในภาพรวมของปริมาณความต้องการใช้น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี พบว่าในสภาพปัจจุบันตลอดทั้งพื้นที่ลุ่มน้ำมีความต้องการเพื่อการผลิตไฟฟ้าสูงสุดถึง 2,669.37 ล้านลบ.ม./ปี และในอนาคต 20 ปีข้างหน้า พบว่าปริมาณความต้องการน้ำรวมในทุกกิจกรรมจะเพิ่มขึ้นเป็น 3,939.22 ล้าน ลบ.ม./ปี สรุปปริมาณความต้องการน้ำรวมทั้งลุ่มน้ำได้ดังนี้

  34. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2549

  35. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการวางแผนบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการวางแผนบริหารจัดการ ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีในอนาคต จากการศึกษาวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาและข้อจำกัดในการพัฒนาใน พื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการน้ำใน ลุ่มน้ำปัตตานีในอนาคตดังนี้ 1) การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม 2) การแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 3) การแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร 4) การแก้ไขปัญหาด้านมลพิษทางน้ำและปัญหาพื้นที่ป่าชายเลน 5) การแก้ไขปัญหาด้านการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้และปัญหาป่าเสื่อมโทรม

  36. โครงการที่เสนอแนะในระยะเร่งด่วน โครงการในระยะเร่งด่วนคือโครงการที่มีความจำเป็นที่ต้องรีบดำเนินการในระยะ 1-3 ปีแรก เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นภายในลุ่มน้ำโดยเร็ว โครงการระดับลุ่มน้ำที่เสนอในแผนระยะเร่งด่วนมีจำนวนทั้งสิ้น 85 โครงการงบประมาณรวม 1,667.08 ล้านบาท

  37. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี ที่มา

  38. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจาก เอกสารประกอบการประชุม ครั้งที่ 3/2551 โครงการศึกษา ทบทวน การจัดทำ แผนงานพัฒนาลุ่มน้ำภาคใต้ (5 ลุ่มน้ำ) ห้องประชุม สำนักชลประทานที่ 16 จังหวัดสงขลา 23 มิถุนายน 2551

  39. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจาก ข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกส่วนที่ 3 และปัตตานี รายงานสถานภาพลุ่มน้ำ 25 ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำปัตตานี จัดทำโดย ส่วนวิชาการ และ ส่วนประสานและบริหารจัดการ ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออก 3 และปัตตานี

  40. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจากหนังสือ โครงการศึกษาเพื่อทำแผนหลักรองรับการพัฒนา แหล่งน้ำและปรับปรุงโครงการชลประทาน สำหรับแผนฯ 9 รายงานสถานภาพลุ่มน้ำ 25 ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำปัตตานี จัดทำโดย กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  41. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจากหนังสือ โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนหลักงานพัฒนา และปรับปรุงแหล่งน้ำทั่วประเทศ จัดทำโดย สถาบันแหล่งน้ำและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้ความร่วมมือของภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดือนมิถุนายน 2541

  42. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจากหนังสือ โครงการจัดทำแผนรวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกและปัตตานี จัดทำโดย บริษัท พอล คอนซัลแตนท์ จำกัด และ บริษัท เอ บี อี เอ็น เอ็นจิเนียริง จำกัด กันยายน 2549

  43. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี อ้างอิงจาก แบบสำรวจข้อมูลระดับตำบลในพื้นที่ ลุ่มน้ำปัตตานี

  44. โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาโครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนา ลุ่มน้ำปัตตานี นอกจากนี้โครงการศึกษาทบทวนการจัดทำแผนพัฒนาลุ่มน้ำปัตตานีได้ข้อมูลจาก กชช.2ค , ข้อมูลจาก GIS , ข้อมูลจากเว็ปไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับน้ำ อาทิเช่น เว็ปไซต์ http://www.dwr.go.th/data_water/selecttitle.php‏

  45. ตำบลที่ส่งข้อมูลการสำรวจข้อมูลระดับตำบลตำบลที่ส่งข้อมูลการสำรวจข้อมูลระดับตำบล ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี

More Related