1 / 37

การพัฒนาระบบราชการ

การพัฒนาระบบราชการ. 9 กันยายน 2548. การพัฒนาระบบราชการ. แนวคิดและการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน - บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม การบริหารรัฐกิจ ที่เน้นผลสัมฤทธิ์

tilly
Download Presentation

การพัฒนาระบบราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบราชการ 9 กันยายน 2548

  2. การพัฒนาระบบราชการ • แนวคิดและการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา • การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • - บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน • การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม • การบริหารรัฐกิจที่เน้นผลสัมฤทธิ์ • - จากวิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์สู่การนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล • การปรับปรุงการให้บริการประชาชน • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและวัฒนธรรมของข้าราชการ + การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานของภาครัฐ • แนวทางการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป

  3. 1 การพัฒนาระบบราชการ หลักในการพัฒนาระบบราชการ ระบบราชการ ที่พึงปรารถนา ระบบราชการในอดีต • สนองความต้องการและ ประโยชน์สุขของประชาชน • เน้นบทบาทที่จำเป็น • บริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ประสิทธิภาพประสิทธิผล • เน้นหลักคุ้มค่า ทันสมัย • ประยุกต์หลักการ บริหารราชการ ยุคใหม่ (NPM) • เป็นระบบราชการ ที่บริหารงานแบบ ดั้งเดิม • มีปัญหาด้าน ธรรมาภิบาล • สร้าง GOOD GOVERNANCE • เที่ยงธรรมและรับผิดชอบ • ยืนหยัดในความถูกต้อง • ประชาชนมีส่วนร่วม • สุจริต โปร่งใสสามารถ ตรวจสอบได้

  4. 1 แนวคิด แนวคิด และการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ธรรมาภิบาล ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ประสิทธิผล คุณภาพความรับผิดชอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมความโปร่งใสสนองความต้องการกระจายอำนาจ แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) หลักนิติธรรมความเท่าเทียมกัน

  5. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) กลไกผลักดันการพัฒนาระบบราชการ รัฐสภา นายกรัฐมนตรี และ ค.ร.ม. ภาคราชการ รับผิดชอบต่อ ภาคธุรกิจเอกชน ก.พ.ร. สาธารณชน เลขาธิการ.ก.พ.ร. สื่อมวลชน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

  6. ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย • การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน • ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ • (e- Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services • การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการดำเนินงาน • (Performance Scorecard) • มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM • READY • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ • (GFMIS) • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน

  7. เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทยเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย 1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น (better service quality) 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม (rightsizing) 3. ยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการและ มาตรฐานการทำงานของหน่วยงานภาครัฐให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์มาตรฐานสากล (high performance) 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย - เปิดระบบราชการสู่กระบวนการความเป็นประชาธิปไตย (democratic governance)

  8. นโยบายรัฐบาลด้านการพัฒนาระบบราชการ (23 มีนาคม พ.ศ. 2548) • พัฒนาระบบราชการอย่างต่อเนื่อง โดยการปรับโครงสร้างราชการ นำด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ (PMOC, MOC, DOC, POC, GFMIS, e-government) • จัดบทบาทภารกิจให้กระชับ มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์ (area-based, agenda-based, special policy-based) • ระบบบริหารราชการที่ยืดหยุ่น คล่องตัว • บริหารงานแบบบูรณาการระดับจังหวัด ต่างประเทศ และกระทรวง

  9. นโยบายรัฐบาลด้านการพัฒนาระบบราชการ (23 มีนาคม พ.ศ. 2548) • ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เน้นบริการประชาชนเชิงรุกและบริการร่วม • ปรับระบบการบริหารงานบุคคลที่เน้นคุณธรรม ระบบการบริหารทรัพยากร และจัดระบบค่าตอบแทน • การจัดการความรู้ และจัดระบบราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • ป้องกันและปราบปรามทุจริตในวางราชการ สร้างความโปร่งใส • สร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม รับฟังความคิดเห็นของประชาชน กระบวนการประชาชน และการตรวจสอบจากภาคประชาชน

  10. 2 แนวคิดการพัฒนาโครงสร้างส่วนราชการเพื่อวางระบบให้สอดคล้องกับการบริหารภาครัฐแนวใหม่และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • จัดบทบาทภารกิจของส่วนราชการส่วนกลางให้เหมาะสมและแก้ไขปัญหาในการจัดโครงสร้าง เช่น การถ่ายโอนส่วนราชการ การบริหารจัดการภายใต้โครงสร้างใหม่ เป็นต้น • ปรับปรุงการบริหารราชการส่วนภูมิภาคให้ตอบสนองความต้องการการพัฒนาแต่ละพื้นที่—ผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา (ผู้ว่าฯ CEO) • จัดภารกิจเชิงปฏิบัติการและบริการในรูปแบบการบริหารงานที่คล่องตัวเพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการ ลดต้นทุน และเพื่อประสิทธิภาพการบริหาร • ลดบทบาทภารกิจที่ไม่จำเป็น โดยการโอนย้าย ยุบ หรือพิจารณาแบ่งส่วนราชการ • กำหนดทิศทางการถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ ท้องถิ่น องค์กรพัฒนาภาคเอกชน และธุรกิจเอกชน

  11. ReshapingPublic Sector ส่วนท้องถิ่น ส่วนท้องถิ่น ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง ส่วนกลาง ปัจจุบัน ระยะยาว ที่มา : สุนทรพจน์ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) 3 ตุลาคม 2547 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล

  12. จากกระแสการพัฒนาระบบราชการและแนวคิดในการปรับระบบการบริหารภาครัฐจากกระแสการพัฒนาระบบราชการและแนวคิดในการปรับระบบการบริหารภาครัฐ • ปรับเปลี่ยนวิธีการกำหนดนโยบายสาธารณะที่อิงความต้องการของประชาชนมากขึ้น • จัดระเบียบการกำกับนโยบายสู่การปฏิบัติที่เน้นผลสัมฤทธิ์ • กำหนดภาระความรับผิดชอบของข้าราชการการเมือง • ปรับภาพลักษณ์ของนักการเมืองยุคใหม่ (Working Cabinet and Ministers) • จัดทีมสนับสนุนการทำงานของฝ่ายการเมือง ฝ่ายการเมืองปรับตัวและปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารราชการ

  13. การจัดระเบียบการกำกับดูแลและความรับผิดชอบในการบริหารการจัดระเบียบการกำกับดูแลและความรับผิดชอบในการบริหาร นรม. และ ครม. • กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา และแก้ไขปัญหาอย่างเป็น เอกภาพ • กำหนดเป้าหมายและทรัพยากร • จัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อบรรลุ เป้าหมาย • จัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ • กำกับดูแลในระดับพื้นที่และ ภารกิจหลัก (ติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติ • ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ • รับผิดชอบต่อผลงาน รอง นายกฯ กลุ่ม จว. รมต. กลุ่มกระทรวงที่ผลักดันนโยบายการพัฒนาหลัก

  14. การจัดโครงสร้าง ความสัมพันธ์ และระบบการบริหารราชการภูมิภาคกับส่วนกลาง นรม. ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ รนม. ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง รมต./ กระทรวง รมต. มหาดไทย กลุ่มกระทรวง CEO/ จังหวัด กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่ บริการสาธารณะ

  15. รัฐบาล เอกชน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐวิสาหกิจ กระทรวง กรม กระทรวง กรม กระทรวง กรม องค์การมหาชน Government-wide Agenda หน่วยงานอื่นของรัฐ จังหวัด โอนถ่าย(Devolution) - บทบาท อำนาจหน้าที่ - ทรัพยากร (งบประมาณ + คน) หน่วยงานกลาง  ส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด บูรณาการ(Integration) ระหว่างกระทรวง/กรม และ ระหว่าง กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เข้าด้วยกัน (Horizontal & Vertical Integration) เงื่อนไขของความสำเร็จ จังหวัด ชุมชน/ประชาชน

  16. 1.1 6.1 2.1 6.2 2.2 6.3 3.2 7.1 4.1 3.1 4.3 4.2 5.1 8.1 8.3 8.2 9.2 9.1 กลุ่มจังหวัด 19 กลุ่ม 1. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน 6. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6.1 อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย 6.2 มุกดาหาร สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ 6.3 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 2. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2.1 พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ 2.2 นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร 7.2 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 3.1 นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง 3.2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท 7. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 7.1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ 7.2 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.1 ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี 4.2 เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 4.3 ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี 5. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 5.1 ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง 8.3 ภูเก็ต พังงา กระบี่ 9. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 9.2 สงขลา สตูล

  17. ตัวอย่าง CHINA / MYNMAR LAOS INDIA / CHINA LAOS การท่องเที่ยว LAOS การค้าชายแดน การผลิตข้าวหอมมะลิ การประมง การผลิตอาหารฮาลาล CAMBODIA MIDDLE EAST MALAYSIA /SINGAPORE

  18. 3 ภาระความรับผิดชอบระหว่างการเมืองและราชการประจำ กำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ค.ร.ม. แผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี ร.ม.ต. แผนปฏิบัติราชการระดับกระทรวง แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ วักผลสัมฤทธิ์

  19. 3 รูปแบบการจัดโครงสร้างส่วนราชการหน่วยงานราชการ 5 รูปแบบ รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 5 รูปแบบที่ 3 รูปแบบที่ 4 หมายเหตุ ให้ปลัดทบวง 1 คนทำหน้าที่ เป็นปลัดกระทรวง (อาจต้อง ปรับแก้กฎหมายระเบียบ บริหารราชการแผ่นดินใหม่) หมายเหตุ * กรณีของกระทรวงศึกษาธิการกำหนด เป็นสำนักงานที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี หัวหน้าส่วนราชการมีฐานะเทียบเท่า ปลัดกระทรวงตามมาตรา 29 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

  20. 4 การ การ บริหารรัฐกิจที่เน้นผลสัมฤทธิ์ ติดตาม ประเมินผล Strategic Control นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation • กำกับติดตามและ • ประเมินผล • ทบทวนสถานการณ์ • เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • Strategy Map แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

  21. Objectives Objectives Objectives Initiatives Initiatives Initiatives Measures Measures Measures Targets Targets Targets Balanced Scorecard Financial “To succeed financially, how should we appear to our shareholders?” Customer Internal Business Process “To achieve our vision,how should we appear to our customers?” “To satisfy our shareholders and customers, what business processes must we excel at?” Vision and Strategy Objectives Measures Initiatives Targets Learning and Growth “To achieve our vision,how will we sustain our ability to change and improve?”

  22. มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน (120%) Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 60% 10% มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น 10% 10+30% Customer Perspective Learning & Growth Perspective

  23. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  24. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  25. รายงานผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดแพร่รายงานผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดแพร่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 SAR- Card (ต่อ)

  26. 5 การปรับกระบวนการทำงานที่มุ่งบริการประชาชน ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายหลัก จุดให้บริการ ผู้ปฏิบัติส่วนหน้า Knowledge Workers • Day-to-day support กลุ่มสนับสนุน • คน วัสดุ เงิน • หล่อลื่น IT สิ่งแวดล้อมภายนอก ฝ่ายผลักดันยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ • กำหนดยุทธศาสตร์ • จัดสรรทรัพยากร • แก้ปัญหา • กำกับผลงาน • ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรม ผู้บริหารระดับสูง

  27. 5 การ การ ปรับปรุงการให้บริการประชาชน ลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ราชการ ใสสะอาด ปราศจาก คอร์รัปชัน Call Center 1111 e-Services Service Links Government Counter Services Mobile team

  28. 6 งานที่ท้าทายคือการปรับกระบวนทัศน์และวัฒนธรรมการทำงานของข้าราชการทุกระดับ Information & knowledge กำหนดนโยบายและสื่อสาร Paradigm shift & change workhabits ดำเนินการอย่างจริงจัง การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กำหนดระบบแรงจูงใจ Make choices,decide to change

  29. การ 6 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและ วัฒนธรรมของข้าราชการไทย และ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เก่า ใหม่ pull push I ntegrity A ctiveness M orality R elevancy E fficiency A ccountability D emocracy Y ield Promotion/ Campaign Incentives Change Agent Communication for Change

  30. Virtual Academy of Public Management

  31. 4 ปีสร้าง “ความรู้” ให้แก่ข้าราชการ เพื่อรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก Learning Station (L-TV) e-Learning Live Program

  32. การ 7 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานภาครัฐ Total Quality Management Leadership Information & Analysis Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) Business Results Strategy Deployment HR Focus Process Management Customer & Market Focus World class UK Quality Award Singapore Quality Award Thailand Quality Awards UKQA SQA JQA EQA Public Sector Quality Awards European Quality Assurance Japan Quality Award

  33. สร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาลสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล แนวนโยบายและ การพัฒนาระบบ Enabling การบริหารราชการ เพื่อสังคมประชาธิปไตย การบริหารราชการ ที่โปร่งใส การบริหารราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน การบริหารราชการ ที่ประชาชนเป็นหุ้นส่วน การพัฒนาจากภายนอกระบบราชการ(Outside-in Approach) การพัฒนาจากภายในภาคราชการ(Inside-out Approach) การบริหารราชการ ที่มีประสิทธิภาพ ราชการที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน การบริหารราชการที่ทรงพลัง พัฒนาความรู้และศักยภาพฯ Empowerment

  34. 8 แนวทาง การดำเนินงานในขั้นต่อไป • การสานต่อและการขับเคลื่อนภารกิจที่ยังไม่เสร็จสิ้น • - การส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • การปรับปรุงโครงสร้างใหม่ และการโอนถ่ายภารกิจ อำนาจหน้าที่ และ • ทรัพยากร ภารกิจที่ I • “ความพร้อมเชิงยุทธศาสตร์”  การสร้างคุณค่า • สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ประกอบด้วยทุนมนุษย์ และการจัดการความรู้ • การบริหารการเปลี่ยนแปลง / การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง ภารกิจที่ II • การบูรณาการ (join-up / connecting government) • ยุทธศาสตร์ภาครัฐ  แผนดำเนินงาน (จังหวัด/กระทรวง)  • การจัดสรรงบประมาณ/คน  ระบบติดตาม ประเมินผล  • การให้รางวัล/การลงโทษ • Intergovernmental relations ภารกิจที่ III การยกเลิกกฎ ระเบียบที่ไม่เหมาะสม และการปรับปรุงกฎ ระเบียบ(Deregulation & Re-regulation) ภารกิจที่ IV

  35. ร่วมพัฒนาระบบ ยกระดับบริการ เพื่อรอยยิ้มของประชาชน

  36. Thank you for your attention! &

  37. PMOC / MOC / POC Corporate War Room

More Related