410 likes | 1.11k Views
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM). โดย นายสุขสันติ์ บุณยากร หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลัยการปกครอง. การบริหารโดยมุ่งผลส้มฤทธิ์ RESULTS BASED MANAGEMENT : RBM.
E N D
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์Results Based Management(RBM) โดย นายสุขสันติ์ บุณยากร หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลัยการปกครอง
การบริหารโดยมุ่งผลส้มฤทธิ์RESULTS BASED MANAGEMENT : RBM การบริหารโดยมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ หรือความสัมฤทธิ์ผลเป็นหลัก โดยใช้ระบบการวัดผลการปฏิบัติงานที่อาศัยตัวชี้วัด เป็นตัวสะท้อนผลงานให้ออกมาเป็นรูปธรรม
ทำไมต้องบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ทำไมต้องบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ/ทรัพยากรมีจำกัด • ความต้องการของประชาชนที่มากขึ้น • การแข่งขันที่รุนแรงขึ้น • ประสบการณ์ของต่างประเทศ • การบริหารภาครัฐแนวใหม่ • รัฐธรรมนูญ • นโยบายของรัฐบาล
กรอบความคิดการวัดผลสัมฤทธิ์กรอบความคิดการวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ ปัจจัย นำเข้า ผลลัพธ์ วัตถุ ประสงค์ กิจกรรม ผลผลิต ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล
เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงานเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน วัตถุประสงค์(Objective) ปัจจัยนำเข้า(Input) ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต กิจกรรม(Process) กระบวนการผลิต ผลผลิต/บริการ ผลผลิต(Output) ผลลัพธ์(Outcomes) ผลกระทบจากผลผลิต ต่อผุ้รับบริการ ผลสัมฤทธิ์(Results) ผลผลิต + ผลลัพธ์
ความตั้งใจหรือข้อกำหนดความตั้งใจหรือข้อกำหนด ไว้ว่าจะทำอะไรในอนาคต วัตถุประสงค์ (Objectives) ทิศทางที่เราจะเคลื่อนไป เป้าหมาย (Goals) ความสำเร็จของงานที่เรา คาดหวังให้เกิดขึ้นใน อนาคต อาจเป็นเวลา หรือช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เชิงปริมาณ เป้าหมาย เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย • หมายถึง ค่าคาดหมายที่ควรจะทำได้ของแต่ละตัวชี้วัด • เป็นการกำหนดผลของงานที่ต้องทำได้ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานมาพิจารณาประกอบด้วย - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับสำนักงานอื่น - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบจากหน่วยงานภายนอก - ปัจจัยสภาพแวดล้อมอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการ ทำงาน การนำเทคโนโลยีมาใช้ การพัฒนาบุคคล ฯลฯ • มีหลายระดับ เช่น ระดับองค์กร / ฝ่าย /แผนก
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน • หมายถึง การวัดผลการปฏิบัติงานแต่ละด้าน เช่น ทรัพยากร ผลผลิต และผลลัพธ์ เป็นต้น • ให้ออกเป็นตัวเลขที่แน่นอนเพื่อแสดงถึงการปฏิบัติงาน • ตัวเลขที่แน่นอน ได้แก่ - จำนวน - ร้อยละ (%) - ค่าเฉลี่ย เช่น มัชฉิมเลขคณิต หรือมัธยฐาน ( X ) - อัตราส่วน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ตัวชี้วัดผลผลิต 1.จำนวนผู้ใช้บริการที่ได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพให้ดีขึ้น 1.จำนวนผู้ใช้บริการ 2.อัตราร้อยละของความยาวของ ถนนที่ได้รับการซ่อมแซมแล้ว ยังอยู่ในสภาพที่ดี 2.ความยาวของถนน ที่ได้รับการซ่อมแซม 3.จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ได้รับความรู้จากโครงการ 3.จำนวนโครงการ ฝึกอบรมที่จัดขึ้น 4.จำนวนผู้ถูกจับกุม คดียาเสพติด 4.อัตราร้อยละของผู้ถูกจับกุม ที่ได้รับการลงโทษ
มิติด้านต่างๆ ของตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน • ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) • ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) • ด้านการบริการ (Customer Service) • การปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance) • ความประหยัด (Economy)
การวัดประสิทธิผล 1. วัดจากกรอบของหน่วยงาน - เปรียบเทียบผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้น จริงกับเป้าหมาย 2. วัดในแง่การตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ - เชิงปริมาณและคุณภาพ - ความรวดเร็ว - ความมีมนุษยสัมพันธ์
การวัดประสิทธิภาพ 1. เปรียบเทียบระหว่างผลผลิตหรือผลงาน ที่เกิดขึ้น (Output) กับปัจจัยนำเข้า หรือทรัพยากรที่ใช้ 2. เปรียบเทียบกับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ
การวัดประสิทธิภาพ 1.วัดจากต้นทุน ประสิทธิภาพ = ประสิทธิภาพ = 2.วัดจากแรงงาน ประสิทธิภาพ = ความคุ้มค่า การลงทุน จำนวนผลผลิต จำนวนต้นทุน ต้นทุนต่อหน่วย จำนวนต้นทุน จำนวนผลผลิต จำนวนผลผลิต จำนวนเจ้าหน้าที่
การเข้าถึง / ความสะดวกใน การรับบริการ (สถานที่/เวลา/ ความพร้อมของเจ้าหน้าที่) คุณภาพ การให้ บริการ (Service Quality) ความยุ่งยาก / ง่ายต่อความเข้าใจ (แบบฟอร์ม / ภาษา) การให้บริการอย่างถูกต้อง การให้บริการที่รวดเร็ว การให้บริการที่ปลอดภัย
เงิน มิติ ด้าน ประหยัด แรงงาน เวลา ทรัพยากร
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การวางแผนองค์การและแผนกลยุทธ์ (Corporate and Strategic Planning) • การมอบอำนาจและให้อิสระในการทำงาน (Devolution and Autonomy) • การเทียบเคียงงาน (Benchmarking) • การวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance Measurement) • การติดตามผลการปฏิบัติงาน (Performance Monitoring)