730 likes | 1.86k Views
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กำลังไฟฟ้า. กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์( CANDLE ) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วัตถุประสงค์. เข้าใจความหมายของกำลังไฟฟ้าชั่วขณะ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย
E N D
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282)กำลังไฟฟ้าความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282)กำลังไฟฟ้า กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์ • เข้าใจความหมายของกำลังไฟฟ้าชั่วขณะ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย • สามารถหาค่ากำลังไฟฟ้าชั่วขณะ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยได้ • เข้าใจความหมายของตัวประกอบกำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า • สามารถหาขนาดของตัวเก็บประจุไฟฟ้าเพื่อใช้ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าได้
กำลังไฟฟ้าชั่วขณะ(Instantaneous Power) ค่าคงที่(ไม่ขึ้นกับเวลา) รูปคลื่นโคไซน์ที่มีความถี่เป็น 2 เท่าของแรงดันไฟฟ้าที่สภาวะคงตัว หรือ ความถี่เป็น 2 เท่าของกระแสไฟฟ้าที่สภาวะคงตัว
ตัวอย่าง จงหากระแสไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้าชั่วขณะ กำหนดให้
กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(Average Power)
กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(Average Power)
กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(Average Power) - วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างเดียว
กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(Average Power) - วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำหรือตัวเก็บประจุโดยไม่มีตัว ต้านทาน • เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีการสูญเสีย กำลังไฟฟ้า • รับหรือดูดซึมกำลังไฟฟ้าเฉลี่ยไม่ได้ • เก็บพลังงานในช่วงเวลาหนึ่งและจ่าย พลังงานในอีกช่วงเวลาหนึ่ง(กำลัง ไฟฟ้าเฉลี่ยจึงเท่ากับศูนย์)
ตัวอย่าง จากวงจรไฟฟ้าในรูป จงหากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยของวงจร
ตัวอย่าง หรืออาจจะหากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยได้จาก
ตัวอย่าง จากวงจรไฟฟ้า หากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ส่งจ่ายจากแหล่งกำเนิดและ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่รับโดยอิมพีแดนซ์
ตัวอย่าง กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ดูดซับโดยตัวต้านทานไฟฟ้า 4 โอห์ม กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ดูดซับโดยตัวต้านทานไฟฟ้า 2 โอห์ม กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยรวมที่ดูดซับทั้งหมด
ตัวอย่าง กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยจากแหล่งกำเนิดแรงดันไฟฟ้า 12 โวลต์ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ส่งจ่ายโดยแหล่ง กำเนิดแรงดันไฟฟ้า 12 โวลต์
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor, PF) กำลังไฟฟ้าปรากฎ [VA] กำลังเฉลี่ยหรือกำลังไฟฟ้าจริง [W] ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) มุมของอิมพีแดนซ์โหลด
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) โหลดความต้านทานไฟฟ้าอย่างเดียว โหลดรีแอคทีฟอย่างเดียว
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) มุมของตัวประกอบกำลังไฟฟ้าจะอยู่ระหว่างมุม -90° ถึง +90° - ถ้าเป็นโหลด R กับ C - ถ้าเป็นโหลด R กับ L ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าจะเป็นชนิดแบบนำ(Leading PF) หรือแบบตาม(Lagging PF) ดูที่มุมที่ทำระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) โหลด RC เฟสเซอร์ของกระแสไฟฟ้านำเฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้า ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบนำ Leading PF โหลด RL เฟสเซอร์ของกระแสไฟฟ้าตามเฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้า ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบตาม Lagging PF
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) หากำลังไฟฟ้าที่ต้องส่งจ่ายจากสถานีจ่ายไฟฟ้าไปยังโรงงาน (แทนสถานีจ่ายไฟฟ้าด้วยแหล่งกำเนิดแรงดันไฟฟ้า) ดังรูป 1. โรงงาน(โหลด)มีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 0.707 lagging 2. โรงงาน(โหลด)มีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 0.900 lagging
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor) กำลังไฟฟ้าที่โหลดดูดซับ(กำลังไฟฟ้าที่โหลดต้องการ) กำลังไฟฟ้าที่ส่งจ่าย(กำลังไฟฟ้าที่จ่ายจากสถานีจ่ายไฟฟ้า) กำลังไฟฟ้าสูญเสีย(ในสายส่ง)
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า(PowerFactor)
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนมาจาก เฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้า คอนจูเกตเชิงซ้อน (Complex Conjugate) ของ ขนาดของแรงดันไฟฟ้า เฟสเซอร์ของกระแสไฟฟ้า ขนาดของกระแสไฟฟ้า
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) P กำลังไฟฟ้าจริง(Real Power) หรือ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(Average Power) หน่วยเป็น วัตต์(W) Q กำลังไฟฟ้าเสมือน หรือ กำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ(Reactive Power) หน่วยเป็น วาร์(VAR) S กำลังไฟฟ้าที่ปรากฎ(Apparent Power) หน่วยเป็น โวลต์-แอมป์(VA)
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) ส่วนจริง Real part ส่วนจินตภาพ Imaginary part จากอิมพีแดนซ์ ส่วนจริง Real part ของอิมพีแดนซ์ ส่วนจินตภาพ Imaginary part ของอิมพีแดนซ์
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power)
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) จากความสัมพันธ์ระหว่างกำลังไฟฟ้ากับอิมพีแดนซ์ โดยที่
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า(Power Triangle) ถ้า Q เป็นบวก + แสดงว่า เป็นโหลดแบบอินดัคทีฟ (Inductive load) หรือเป็นโหลดที่มีตัวประกอบ กำลังไฟฟ้าแบบตาม(Lagging PF) ถ้า Q เป็นลบ - แสดงว่า เป็นโหลดแบบคาปาซิทีฟ (Capacitive load) หรือเป็นโหลดที่มีตัวประกอบ กำลังไฟฟ้าแบบนำ(Leading PF) ถ้า Q เป็นศูนย์ 0แสดงว่า เป็นโหลดแบบความต้านทาน(Resistive load) หรือเป็นโหลดที่มีตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 1
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า Vs และตัวประกอบกำลังไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า(แทนโรงไฟฟ้า ด้วยแหล่งกำเนิดแรงดันไฟฟ้า) เมื่อโหลดมีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 0.8 lagging สายส่งมีค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 0.09 +j0.3 Ωโหลดขนาดกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 20 kW แรงดันไฟฟ้า 220 Vrms
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) ความสัมพันธ์ของเฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า Transmission Lines Power Plant Load
กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน(Complex Power) load power factor = 0.800 lagging
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำ ทำให้กำลังไฟฟ้าสูญเสียมาก
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า • โดยปกติโหลดจะมีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบตามlagging PF • มักจะเป็นโหลดที่ประกอบด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าเหยี่ยวนำinduction motors • วิธีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าก็ต้องมีความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ วิธีการหนึ่งที่ทำได้ก็คือ ต่อตัวเก็บประจุ capacitor แบบขนานเข้ากับโหลดที่ต้องการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า กำหนดให้ กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนของโหลดเดิม ก่อนปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนของตัวเก็บประจุ กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนใหม่ หลังปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนใหม่ หลังปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า เป็นค่ามุมตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่เราต้องการให้เป็นหลังปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบนำ Leading PF มุมของตัวประกอบกำลังไฟฟ้าจะเป็นลบ
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า หาขนาดของกำลังไฟฟ้าเสมือนหรือกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟของตัวเก็บประจุไฟฟ้า จากค่ากำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ ขนาดของแรงดันไฟฟ้า เฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้า
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า อิมพีแดนซ์ของตัวเก็บประจุ ไม่มีส่วนจริงสำหรับตัวเก็บประจุ
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากสมการกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ เป็นสมการที่ใช้หาขนาดตัวเก็บประจุเพื่อ ให้ได้ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่ต้องการ
ตัวอย่าง ต้องการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าให้มีค่าเท่ากับ 0.95 แบบตาม lagging ให้หาขนาดตัวเก็บประจุเพื่อนำมาต่อในการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (แทนโหลดด้วย R, L) กำหนดค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเดิมก่อนปรับปรุงเท่ากับ 0.8 lagging โหลดโรงงานมีขนาด 50 kW , แรงดันไฟฟ้า 220 Vrms , ความถี่ 60 Hz
ตัวอย่าง จากสามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า ก่อนปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ตัวอย่าง หลังปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ขนาดตัวเก็บประจุที่มีจำหน่าย อาจไม่ตรงกับที่คำนวณได้