180 likes | 625 Views
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน นายสิริเลิศ สรฉัตร รองประธาน นายยุทธนา เสถียรฐิติพงศ์ เลขานุการ
E N D
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน นายสิริเลิศ สรฉัตร รองประธาน นายยุทธนา เสถียรฐิติพงศ์ เลขานุการ นายอนันตรักษ์ สลีสองสม เลขานุการ นางธีรวรรณ วิเชียรสรรค์ ผู้นำเสนอ นายกษิดิ์เดช สิบศิริ ผู้นำเสนอ และสมาชิกกลุ่ม 36 ท่าน
วิทยากรประจำกลุ่ม • กิตติ คัมภีระ ที่ปรึกษาการบริหารงานวิจัยของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมฯ • ดร.อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย มหาวิทยาลัยมหิดล • รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม • นัยนา กล่อมเชื้อ นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
1. ความสำคัญของการจัดทำโครงการวิจัยปัจจุบันในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การอยู่อาศัยของคนในชุมชน เพิ่มภาระงบประมาณในการกำจัดขยะ ทำให้เกิดประเด็นในการศึกษา เพื่อศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การใช้เทคโนโลยี ของชุมชนต้นแบบ นำผลที่ได้จากการศึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้มาใช้ประโยชน์เป็นต้นแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่อื่นๆ
2.วัตถุประสงค์ • 2.1 เพื่อการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม • 2.2 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม • 2.3 เพื่อศึกษาการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน • 2.4 เพื่อปลุกจิตสำนึกของการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน
3. ขอบเขตการศึกษาวิจัย (ประเด็นการศึกษา,พื้นที่ศึกษา,กลุ่มตัวอย่าง) • ประเด็นการศึกษา รูปแบบและวิธีการจัดการขยะ • พื้นที่ที่จะศึกษา อบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี • กลุ่มตัวอย่าง ชุมชนอบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี
4. วิธีดำเนินการและสถานที่ทำการวิจัยหรือเก็บข้อมูล • 4.1 วางแผนการวิจัย • 4.2 การศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • 4.3 การเขียนนิยามปฏิบัติการ • 4.4 ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะ 3 พื้นที่ • 4.5 ถอดความรู้และสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสม • 4.6 ดำเนินการใช้รูปแบบ - ประชุมปฏิบัติการการใช้รูปแบบ - ปฏิบัติการภาคสนาม • 4.7 ประชุมวิเคราะห์และสรุป • 4.8 การเขียนรายงานและเผยแพร่
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้รูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมในบริบทของที่มีการบริหารจัดการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และสามารถดำเนินการพัฒนาปรับปรุงให้มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น โดยใช้กิจกรรมการสร้างจิตสำนึกและจิตอาสาให้ต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมรวมทั้งมีการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน
ทำอย่างไรให้ประชาชนสุขภาพดีพึ่งตนเองได้ทำอย่างไรให้ประชาชนสุขภาพดีพึ่งตนเองได้
บันได 3 ขั้น ตามแนวทางพระราชดำรัส สู่การทำงานสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง พัฒนา เข้าใจ เข้าถึง • เข้าใจท้องถิ่น • เข้าใจพันธมิตรร่วมงาน • เข้าใจปัญหาสุขภาพ • ประโยชน์ที่ชุมชนจะ • ได้รับ • การพัฒนาคน • การพัฒนาเครือข่าย • การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ • การประเมินผล/การ • ขยายผล • การประเมินสถานการณ์สุขภาพร่วมกัน • การกำหนดแนวทางการพัฒนาและกลุ่ม • เป้าหมาย • การวางแผนพัฒนาขีดความสามารถและ • ความรู้ของบุคลากร • การประสานงบประมาณและการ • ดำเนินงานร่วมกัน