1 / 13

Zeta potential

ζ. +. -. -. +. -. -. Zeta potential. +. ศักย์ซีต้า. -. Introduction.

toby
Download Presentation

Zeta potential

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ζ + - - + - - Zeta potential + ศักย์ซีต้า -

  2. Introduction Zeta Potential(ζ)ความต่างศักย์ระหว่างศักย์ไฟฟ้าบริเวณพื้นผิวสเตอร์น(stern potential ; )กับศักย์ไฟฟ้าในชั้นสารละลาย วัดยากเนื่องจากไม่ทราบขอบเขตที่แน่นอน จึงประมาณว่า( = ศักย์ไฟฟ้าบริเวณผิวของอนุภาค) ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  3. + + Potential Curve F=qE + - + - + - + - + - + - + + - + - + - + - + - + - + ζ ζ Shear Plane Shear Plane ประจุรวมสารละลายเป็นบวก ประจุรวมสารละลายเป็นลบ ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  4. + + + Zeta Potential อันตรกิริยาของอนุภาคไม่ขึ้นกับประจุของอนุภาค ขึ้นกับZeta potentialแดอกเกดเกดเกดเกดกดดด ปก อันตรกิริยาทางไฟฟ้าสถิตสามารถวัดได้จากค่า Zetapotential อิอิอิอิอิอิแอแอดหกZeta potentialสามารถใช้ในการทำนาย dispersion stability ดหกดหกดหกดหกก ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  5. + + Zeta potential &dispersion stability ζ ≥ +40 mV / ζ ≤-40 mV -40 mV ≤ ζ ≤ +40mV มีเสถียรภาพการกระจายตัว ไม่มีเสถียรภาพการกระจายตัว อนุภาคมีค่า Zeta Potential เป็นบวกหรือลบมากๆ เกิดการหักล้างต่อกัน เกิดเสถียรภาพการกระจายตัว อนุภาคมีค่า Zeta Potential เป็นบวกหรือลบน้อยๆ ไม่มีแรงป้องกันอนุภาคอื่นที่เข้ามา ไม่เกิดเสถียรภาพการกระจายตัวหรือเกิดการรวมกัน(AGGREGATION) ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  6. + + + ปัจจัยที่มีผลต่อ Zeta Potential การเปลี่ยนแปลงค่าpH ค่าการนำไฟฟ้า(conductivity) ของตัวกลาง(medium) ซึ่งขึ้นกับ ความเข้มข้นและประเภทของไอออนปริมาณของอานุภาคที่ใส่เข้าไปเพื่อสัมผัสกับโมเลกุล เช่น สารตึงผิว , พอลิเมอร์ ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  7. ผลของpHที่มีต่อค่า Zeta Potential H+ OH- + - + - + - + - + - + - + + - + - + - + - + - + - + + - + - + - + - + - + - + ζ ζ ζ Shear Plane Shear Plane Shear Plane ที่ Isoelectric Point : ประจุลบและประจุบวกมีปริมาณสมดุล Zeta Potential=0 ที่ pHสูง: มีประจุลบจากOH-มากเกินไป Zeta Potentialเป็นค่าลบ ที่ pH ต่ำ: มีประจุบวกจากH+มากเกินไป Zeta Potentialเป็นค่าบวก ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  8. + - + - + - + - + - + - + + - + - + - + - + - + - + ζ ผลของpHที่มีต่อค่า Zeta Potential Isoelectric Point(IEP): pH at which ζ= 0 - ζ (mV) + pH + - + - + - + - + - + - + ζ ζ ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  9. ผลของ conductivityที่มีต่อค่า Zeta Potential Inorganic ions สามารถ interact ต่อพื้นผิวของอนุภาคของกันและกัน ซึ่งมีอยู่ 2 ทาง ได้แก่ Specific ion adsorption เป็นตัวการสำคัญที่จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของค่า isoelectric pointที่ทุกๆความเข้มข้นต่ำมากๆของspecifically adsorbed ions จะมีผลอย่างน่าสนใจต่อการกระจายตัวของอนุภาคใน Zeta potential ในบางกรณี specific ion ก็จะให้ผลการเปลี่ยนแปลงที่ตรงกันข้ามกับค่า isoelectric point ไปเลยก็เป็นได้ ||||||||||Zeta Potential ||||||||||| Non-specific ion adsorption ซึ่งไอออนเหล่านี้จะไม่มีผลต่อตำแหน่งของ isoelectric pointแต่มันจะมีโอกาสทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการกระจายตัวของ particles ในZeta potential แทน

  10. zeta potentialmeasurement • Electroacoustic - Colloidal Dynamics Acoustosizer • Photocorrelation Spectroscopy - Brookhaven Zeta Plus dilute msuspensions <5microns light scattering technique • Streaming Potential – Paar Physica EKA granular particles, surfaces • Electrophoresis - Zeta Mark 21 particles ~ .10 microns- 300 μm ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  11. References • http://en.wikipedia.org/wiki/Zeta_potential • http://www.bioresearchonline.com/article.mvc/Automated-Protein-Characterization-With-The-M-0002 • http://wiki.biomine.skelleftea.se/wiki/index.php/Zeta-potential • http://www.malvern.com.cn/LabChi/technology/zeta_potential/zeta_potential_LDE.htm • http://perc.ufl.edu/courses/intephen01/_files/05_EDL.ppt • http://www.ioc.fiocruz.br/peptideos2008/pdf/light_scattering.pdf ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  12. ผู้จัดทำ • นายจิระพงศ์ อารินทร์ 500510003 • นายเฉลิมพล คำปา 500510005 • นางสาวชลันดา มีมุข 500510007 • นายธรรมนูญ คำสาร 500510010 • นายศรภัทร นิยมสินธุ์ 500510019 • นางสาวศรัญญา มั่งนิมิตร 500510020 • นางสาวเสาวรส เก้าพันธ์ 500510022 • นายสาวอัญรัตน์ เหล่ากุลดิลก 500510023 • นางสาวอาทิตยา สีหราช 500510024 ||||||||||Zeta Potential |||||||||||

  13. Thank You !

More Related