1.16k likes | 2.01k Views
การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน. Performance Based Budgeting : PBB. PBB. Process. Output. Outcome. Input. ผลผลิต. ผลลัพธ์. 1. การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน. “ สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการจัดการ
E N D
การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance Based Budgeting : PBB
PBB Process Output Outcome Input ผลผลิต ผลลัพธ์ 1
การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน “สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการจัดการ ทางการเงิน 7 ประการ(7 Hurdles) ” 2
งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน - 7 Hurdles * Performance Based Budgeting : PBB 1 การวางแผนงบประมาณ 2 การคำนวณต้นทุนของกิจกรรม 3 การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4 การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ 5 การรายงานการเงินและผลการดำเนินงาน 6 การบริหารสินทรัพย์ การตรวจสอบภายใน 7 3
ประการที่ 1 การวางแผนงบประมาณ แผนกลยุทธ์สถานศึกษา + แผนงานประจำ (SCHOOL STRATEGIC & ROUTINEPLAN) กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK: MTEF) 4
ประการที่ 2 การคำนวณต้นทุนผลผลิต ( Activity - Based Costing ) เป็นการคิดต้นทุนการดำเนินการต่อหน่วยผลผลิตของกิจกรรมภายใต้โครงการตามแผนกลยุทธ์สถานศึกษา 5
ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) ประการที่ 3 ที่แสดงถึง :- • ความโปร่งใส • ความยุติธรรม • ตรวจสอบได้ 6
จัดระบบการบริหารการเงินและ ควบคุมงบประมาณ ( Financial managment & Budget control ) ประการที่ 4 • กำหนดระดับมาตรฐาน • กำหนดความรับผิดชอบในเรื่องบัญชีและการเงิน • ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้าง 7
จัดระบบการวางแผนการเงินและจัดระบบการวางแผนการเงินและ การรายงานผลการดำเนินการ (Financial & Performance Reporting) ประการที่ 5 • การแสดงความโปร่งใส • การตรวจสอบ • การประเมินผลโครงการ • การรายงานผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ 8
จัดระบบการบริหารสินทรัพย์จัดระบบการบริหารสินทรัพย์ (Asset management) ประการที่ 6 • การเพิ่มประสิทธิภาพและ • ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร • ความคุ้มค่าและคุ้มทุน 9
จัดระบบตรวจสอบภายใน ( Internal Audit ) ประการที่ 7 • ตรวจสอบผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ - ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity ) - ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program ) - ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project ) • ตรวจสอบรายงานทางการเงิน - เทียบเคียงผลการดำเนินการกับงบประมาณที่ใช้ 10
ผลงาน*คุ้มค่า การตรวจสอบการทำงาน PBB ร่องรอย*ทำจริง ถูกต้อง โปร่งใส คุณภาพการศึกษา แผนงาน/โครงการ *สอดคล้อง สถานศึกษา 11
SPBB ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
แนวคิดและหลักการ BUDGET • การปรับปรุงให้รัฐสามารถใช้วิธีการและกระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดผลสำเร็จตามนโยบายและประชาชนได้รับประโยชน์ • ระบบงบประมาณสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน • มุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ โดยคำนึงถึงความโปร่งใสประสิทธิภาพและประสิทธิผล • การมอบความคล่องตัวในการจัดทำและบริหารงบประมาณให้กับผู้ปฏิบัติ 1
Budget การออกแบบระบบและวิธีการงบประมาณ มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • คำนึงถึงความสำเร็จของงานตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • บริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล(Good Governance) • มีการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบในการวางแผนจัดการและบริหารงบประมาณแก่กระทรวง ทบวง กรม โดยสามารถแสดงความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ที่กี่ยวข้องออกเป็น 3 ระดับ 2
Budget เงื่อนไขที่สำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์(SPBB) • มีกลยุทธ์ในการดำเนินงานที่ครอบคลุมหลายมิติ • ก่อให้เกิดการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้ ยืดหยุ่น คล่อง ตัว กระจายอำนาจ ทันเหตุการณ์ • ยึดหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(Good Governance) มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3
SPBB ยุทธศาสตร์ : บูรณาการ Function Agenda Area มิติหน่วยงาน มิตินโยบายเฉพาะ มิติพื้นที่ : : : 4
Budget ยุทธศาสตร์การดำเนินงานครอบคลุมบูรณาการ 3 มิติ • ยุทธศาสตร์กระทรวงและหน่วยงาน (Function)ทำงานตาม ภารกิจของกระทรวง(ภารกิจประจำและภารกิจตามยุทธศาสตร์)ที่มีเป้าหมายและแนวทางที่ชัดเจนภายใต้ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ • ยุทธศาสตร์เฉพาะของรัฐบาล (Agenda)นโยบายเฉพาะเรื่องที่รัฐบาลมอบหมาย ไม่ได้ขึ้นกับกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เน้นการมีเป้าหมายการทำงานร่วมกัน เช่น นโยบายปราบปรามยาเสพติด • ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area)ได้แก่ กลุ่มจังหวัด จังหวัด เป้าหมายและยุทธศาสตร์เน้นเฉพาะในพื้นที่ 5
SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ • ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 7
3 6 7 1 การตรวจสอบภายใน การวางแผน งบประมาณ การจัดระบบ การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหาร สินทรัพย์ 2 4 5 การคำนวณ ต้นทุนกิจกรรม การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ การรายงานทางการเงิน และผลการดำเนินงาน แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ 5 แผนงาน แผนปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงิน พัสดุ สำนักงบประมาณ SPBB (Strategy Performance Base Budgeting) 7 Hurdles 8
แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ผลงานองค์กร แผนกลยุทธ์ การจัดทำงบประมาณ MTEF การบริหารงบประมาณ แผนปฏิบัติการ KPI/Balanced Scorecard:BSC การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 9
เงินในสถานศึกษา 1. เงินอุดหนุน 2. เงินรายได้สถานศึกษา
หนังสือสั่งการ หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548 2
เงินอุดหนุน 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน 3.ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 3
1. เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10 • * หมวด 8 มาตรา 60 4
หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา • ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้ • อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” 5
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10“การจัดการศึกษา • ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ • รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐ • ต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ • ค่าใช้จ่าย 6
* หมวด 8 มาตรา 60 “ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณ เพื่อการศึกษาดังนี้(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน” 7
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545 8
แนวทางการใช้งบประมาณ 1. สถานศึกษาจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2. เสนอแผนฯ ผ่านความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ 4. ใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ 9
งบประมาณ คชจ.รายหัว * ก่อนประถม 1,700 บาท/คน * ประถม 1,900 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน 10
3 ประเภท ลักษณะการใช้งบประมาณ • งบบุคลากร • *ค่าจ้างชั่วคราว เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน • พนักงานขับรถ ฯลฯ 11
งบดำเนินงาน • * ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร • ค่าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้องถิ่น ฯลฯ • * ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ • ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพา นร. • ไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • * ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเครื่องเขียน • ค่าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน ฯลฯ • * ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ • ฯลฯ 12
งบลงทุน • * ค่าครุภัณฑ์ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ • * ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบ • ดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่อน้ำ ฯลฯ 13
2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน นร.ยากจน = นร.ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท/ปี ให้นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3 14
งบประมาณ * ประถม 460 บาท/คน/ปี * มัธยมศึกษาตอนต้น และขยายโอกาส 2,500 บาท/คน/ปี 15
ลักษณะการใช้งบประมาณ ลักษณะ ถัวจ่าย ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน ค่าเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และค่าพาหนะในการเดินทาง 16
การใช้จ่ายงบประมาณ • 1. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน • 2. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน • ค่าอาหารกลางวัน • ค่าพาหนะในการเดินทาง 17
การจัดซื้อ – จัดจ้าง – จัดหา ดำเนินการตามระเบียบฯพัสดุ การจ่ายเงินสดให้ นร. โดยตรง แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ร่วมกันจ่ายเงิน ใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน 18
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพท. • เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน • รายงานผลการดำเนินงาน 19
3. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน ป. 1 - ม. 3 20
ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอนค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน = เงินงบประมาณที่จัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่ได้ ดำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ไว้สำหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการควบคุม ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา 21
ยกเว้น • นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจำ • นร.ในสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาที่ได้ดำเนินการจัดหอพักในสถานศึกษาและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นร. ประจำพักนอนทุกคนแล้ว • กรณีเรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน จัดสรรให้ได้เฉพาะจำนวน นร. ส่วนที่เหลือ 22
ลักษณะการใช้งบประมาณ ใช้เป็นค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 23
การใช้จ่ายงบประมาณ • จ่ายหรือจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ดังนี้ • * จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร หรือ • จ้างเหมาทำอาหาร • * จ่ายเงินสดให้ นร. • หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนำไป • ใช้จ่ายรายการอื่นที่เกี่ยวกับการจัดอาหารได้ 24
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูลจากโครงการ นร.ประจำพักนอน • และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน • งบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจำพักนอน • รายงานผลการดำเนินงาน 25
รายได้ สถานศึกษา โดย ยุพดี ดีอินทร์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 8 ว สพท.กทม. 2
ระเบียบ สพฐ. ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2549 1