310 likes | 465 Views
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>. คำสั่งใส่สีพื้นหลัง. เป็นการใส่สีพื้นหลัง ให้มีสีสันให้เว็บเพ จมาก ขึ้น สามารถกำหนดเป็นการอธิบายลักษณะพิเศษ ของ คำสั่ง <body> โดยมีรูปแบบดังนี้ <body bgcolor = สีที่ต้องการ >. รูปแบบของคำสั่ง. < HTML> <HEAD> < TITLE> สีพื้นหลัง </TITLE> </HEAD>
E N D
ลักษณะพิเศษของภายใต้คำสั่ง <BODY>
คำสั่งใส่สีพื้นหลัง เป็นการใส่สีพื้นหลัง ให้มีสีสันให้เว็บเพจมากขึ้น สามารถกำหนดเป็นการอธิบายลักษณะพิเศษ ของ คำสั่ง <body> โดยมีรูปแบบดังนี้ <body bgcolor = สีที่ต้องการ>
รูปแบบของคำสั่ง <HTML> <HEAD> <TITLE>สีพื้นหลัง</TITLE> </HEAD> <BODY bgcolor=bule> </BODY> <HTML>
คำสั่งใส่สีตัวอักษร คำสั่งที่สามารถกำหนดโดยการอธิบายลักษณะ พิเศษ ของ คำสั่ง <body> โดยมีรูปแบบดังนี้ <body Text = สีที่ต้องการ>
รูปแบบคำสั่ง <HTML> <HEAD> <TITLE>สีพื้นหลัง</TITLE> </HEAD> <BODY Text=blue> </BODY> <HTML>
คำสั่งการจัดรูปแบบตัวอักษรคำสั่งการจัดรูปแบบตัวอักษร
คำสั่งเส้นคั่น การใช้คำสั่งนี้ เมื่อต้องการแบ่งข้อความบนจอภาพ โดยใช้เส้นคั่นทางแนวนอน ซึ่งสามารถ กำหนดตำแหน่ง สี ขนาดของความหนา ความยาวหรือ เส้น ทึบได้ <HR> รูปแบบคำสั่ง <HR Align=ตำแหน่ง color= สี size=ขนาด width=ขนาดความยาว NOSHADE=กำหนดให้เป็นทึบ>
<html> <title>สวัสดี</title> <head> <body> <HR size= 20 color= blue> <HR width=200> <HR width=100 align=center> <HR width=200 align=center noshade size=15> </body> </html> ตัวอย่าง
ALGIN = จัดตำแหน่งของเส้นคั่น Center , Right,LEFT Size= กำหนดขนาดความหนา ของเส้นคั่น Color= กำหนดสีของเส้นคั่น Width = กำหดนความยาวของเส้นคั่น Noshade = กำหนดให้เป็นเส้นทึบ
การจัดรูปแบบตัวอักษรหนาการจัดรูปแบบตัวอักษรหนา เป็นตัวกำหนดลักษณะ ตัวอักษรให้เป็นตัวหนา (Bold) เพื่อใช้เน้นข้อความ ที่สำคัญ รูปแบบ คำสั่ง <B> ข้อความ </B> เป็นแท็ก คู่
ผลที่ได้ <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอักษรหนา</TITLE> </HEAD> <BODY> <B>ตัวหนา</B> ตัวปกติ </BODY> </HTML>
คำสั่งขีดเส้นใต้ข้อความคำสั่งขีดเส้นใต้ข้อความ เพื่อใช้ในการเน้น ข้อความในเอกสารเว็บ เช่นเดียวกับ คำสั่งที่เน้นอักษรตัว หนา รูปแบบคำสั่ง <U>ข้อความ</U> เป็นแท็กคู่
ตัวอย่างการเขียน <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอักษรหนา</TITLE> </HEAD> <BODY> <U>อักษรขีดเส้นใต้</U> อักษรธรรมดา </BODY> </HTML>
คำสั่งอักษรตัวเอียง <I> กำหนดตัวอักษรเป็นตัวเอียง (Italic) ใช้ประโยชน์ในการเน้นตัวอักษร รูปแบบคำสั่ง <I>ข้อความ</I> เป็น แท็กคู่
รูปแบบการเขียนคำสั่ง <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอักษรเอียง</TITLE> </HEAD> <BODY> <I>อักษรเอียง</I> อักษรธรรมดา </BODY> </HTML>
คำสั่งตัวอักษรเป็นตัวห้อยคำสั่งตัวอักษรเป็นตัวห้อย กำหนดให้ตัวอักษร แสดงผลให้เป็นตัวอักษรตัวห้อย ใช้ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการแสดงผลที่ ต้องการให้ตัวอักษร มีระดับต่ำกว่าปกติ <SUB>ข้อความ</SUB>
รูปแบบการเขียน <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอักษรเอียง</TITLE> </HEAD> <BODY> <SUB>อักษรตัวห้อย<SUB> อักษรธรรมดา </BODY> </HTML>
คำสั่งตัวอักษรเป็นตัวยกคำสั่งตัวอักษรเป็นตัวยก กำหนดให้ตัวอักษร แสดงผลให้เป็นตัวอักษรตัวห้อย ใช้ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการแสดงผลที่ ต้องการให้ตัวอักษร มีระดับสูงกว่าปกติ <SUP>ข้อความ</SUP>
รูปแบบการเขียน <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอักษรเอียง</TITLE> </HEAD> <BODY> <SUP>อักษรตัวยก</SUP> อักษรธรรมดา </BODY> </HTML>
คำสั่งกำหนดตัวอักษรให้เคลื่อนที่คำสั่งกำหนดตัวอักษรให้เคลื่อนที่ เป็นการกำหนดให้ ตัวอักษรเคลื่อนที่ ปกติแล้ว จะเคลื่อนที่จาก ขวาไปซ้าย โดยใช้คำสั่ง <MARQUEE>ข้อความ</MARQUEE>
รูปแบบการเขียน <HTML> <HEAD> <TITLE>Sample</TITLE> </HEAD> <BODY> <Marquee>ตัวอักษรเคลื่อนที่</Marquee> อักษรธรรมดา </BODY> </HTML>
คิดชื่อเว็บไซต์ของตนเองคิดชื่อเว็บไซต์ของตนเอง -โดยรายละเอียดเนื้อหา -ตาม ชื่อเรื่อง