510 likes | 892 Views
ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย (SDS). รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ. 1. GHS SDS. 2. SDS การนำ SDS ไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อการนำเข้า-ส่งออก สารเคมี-วัตถุอันตราย ( UNSCEGHS) ระบบ GHS ของคณะกรรมการ UNSCEGHS
E N D
ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย(SDS) รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ 1
GHS SDS 2
SDS การนำ SDS ไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อการนำเข้า-ส่งออก สารเคมี-วัตถุอันตราย (UNSCEGHS) ระบบ GHSของคณะกรรมการUNSCEGHS ที่พัฒนาขึ้นมา ได้ใช้ระบบการจำแนกตามสภาพความเป็น อันตราย รวมทั้งมีข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์ และการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้อง 3
จุดมุ่งหมายในการทำ SDS เพื่อทำให้มั่นใจใน ความ ถูกต้องและแม่นยำของเนื้อหา • ดังนั้นองค์ประกอบของSDS ทั้ง 16 ชนิดจำเป็นต้อง สอดคล้องกับการจำแนกและติดฉลาก 4
SDS จะต้องถูกจัดทำโดยบุคคลที่มีหน้าที่ และได้รับการมอบหมาย 5
SDS จะต้องถูกนำไปใช้กับ...........พนักงาน.....นายจ้าง.... เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ..... เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัย ..... สถานการณ์เหตุฉุกเฉิน.....องค์กรของรัฐบาลและ.....ประชาชน 6
ภาษาที่ใช้ต้องเป็น..........ภาษาที่เข้าใจง่ายชัดเจน ถูกต้อง หลีกเลี่ยงคำเฉพาะ ชื่อย่อ คำย่อ 7
วลีที่ไม่ควรใช้ ........... อาจเป็นอันตราย ........... ไม่มีผลต่อสุขภาพ ........... ปลอดภัยภายใต้การใช้ส่วนมาก ........... ไม่มีอันตราย 8
SDS • ควรระบุวันที่ทำเอกสารความปลอดภัยอย่างชัดเจน • ระบุวันที่แปล • ระบุวันที่ทบทวน / ปรับปรุง 9
ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีหรือสารผสมและบริษัทผู้ผลิต และ/หรือ จำหน่าย • ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย • องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม • มาตรการปฐมพยาบาล • มาตรการผจญเพลิง • มาตรการการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหลของสารเคมีโดยอุบัติเหตุ • การจัดการและจัดเก็บ • การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันส่วนบุคคล • คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี • ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา • ข้อมูลทางด้านพิษวิทยา • ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศ • ข้อพิจารณาในการกำจัด • ข้อมูลสำหรับการขนส่ง • ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ • ข้อมูลอื่นๆ • รูปแบบของ SDS 10
SDS • ความยาว ? • ความยาวของ SDS ไม่มีจำกัด ให้ขึ้นกับสภาพของอันตรายและข้อมูลนั้นๆ 11
การจัดทำหน้า SDS ..........ควรระบุจำนวนหน้า เช่น • หน้า 1 จำนวน 3 หน้า • หน้าถัดไป • สิ้นสุดเอกสารความปลอกภัย 12
หน่วย SDS • หน่วยที่ใช้ใน SDS ควรใช้ระบบ SI 13
SI International System of Units “ Systems International ď Unites” ex : MKS , CGS Dose Unit ex. Gm/cm2 Dose Rate Unit ex. Gm/cm2/sec Temperature C & Kelvin 14
SDS ส่วนที่ 1 • ผู้จัดจำหน่ายควรระบุสถานที่ที่สามารถติดต่อได้ในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน • ควรใส่รหัสของสาร(ตามกฎหมายของแต่ละประเทศ) 15
SDS ส่วนที่ 2 • เป็นส่วนที่ยากที่สุด • จะต้องจำแนกประเภทให้ถูกต้องตามระบบ HGS • ต้องมีฉลาก,คำสัญญาณ,ข้อความเป็นอันตรายและข้อควรระวัง 16
SDS ส่วนที่ 3: เป็นองค์ประกอบ / ข้อมูลของสารองค์ประกอบ • ต้องมีความสอดคล้องกับส่วนที่ 2 • เฉพาะข้อมูลความลับทางสินค้าควรมีการจัดทำเป็นกรณีพิเศษ • ควรใช้ระบบชื่อ CAS ชื่อ ECหรือ ชื่อ IUPACในทางปฏิบัติ 17
SDS ส่วนที่ 3:สารเจือปนและสร้างความคงตัว,สารผสม • ต้องจำแนกให้ถูกต้องและระบุลงในSDS • สำหรับสารผสมต้องจำแนกส่วนประกอบทุกชนิดในสารส่วนผสม รวมถึงองค์ประกอบที่มิได้ก่อให้เกิดอันตราย • เปอร์เซ็นต์ของสารผสมให้ใช้เป็นน้ำหนักหรือปริมาตร 18
SDS ส่วนที่ 4: มาตรการปฐมพยาบาล • ควรมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ง่าย ชัดเจน ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน • ระบุเวลา อาการที่เกิดขึ้นฉับพลัน และอาการที่เกิดขึ้นแบบช้าๆ • ระบุเกี่ยวกับการดูแลทางการแพทย์ที่เป็นกรณีเฉพาะ 19
SDS ส่วนที่ 5: มาตรการผจญเพลิง • ระบุสารดับเพลิงที่เหมาะสม • ระบุอันตรายที่เกิดขึ้นขณะเผาไหม้ • ระบุ PPE และข้อควรระวัง สำหรับพนักงานดับเพลิง 20
SDS ส่วนที่ 6: มาตรการการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหล ของสารโดยอุบัติเหตุ • ข้อควรระวังส่วนบุคคล • อุปกรณ์ป้องกัน • ขั้นตอนการปฏิบัติ • ข้อควรระวังด้านสิ่งแวดล้อม • วิธีกักเก็บและทำความสะอาด 21
SDS ส่วนที่ 7: ข้อควรระวังสำหรับการเคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย • การจัดเก็บ ต้องมีมาตรฐานในการจัดเก็บ • ต้องระบุขั้นตอนวิธีการเคลื่อนย้ายที่ปลอดภัย • หลีกเลี่ยงความเสี่ยง 6 ประเภท • ควบคุมความเสี่ยง 6 ประเภท • รักษาความเสถียร 2 ลักษณะ • เทคนิคเสริม 4 แบบ 22
หลีกเลี่ยงความเสี่ยง 6 ประเภท • การเกิดบรรยากาศที่ระเบิด • สภาพการเกิดกัดกร่อน • อันตรายจากความไวไฟ • สารหรือของผสมที่เข้ากันไม่ได้ • สภาพที่ทำให้เกิดการระเหยกลายเป็นไอน้ำ • แหล่งกำเนิดประกายไฟ 23
ควบคุมความเสี่ยง 6 ประเภท • สภาพอากาศ • ความดันบรรยากาศ • อุณหภูมิ • แสงอาทิตย์ • ความชื้น • การสั่นสะเทือน 24
รักษาความเสถียร 2 ลักษณะ • ตัวทำให้เสถียร • สารป้องกันการออกซิแดนท์ 25
เทคนิคเสริม 4 แบบ • การระบายอากาศ • การออกแบบเฉพาะสำหรับห้องเก็บ/ภาชนะบรรจุ • การจำกัดปริมาณ การจัดเก็บ • ความเข้ากันได้ของบรรจุภัณฑ์ 26
SDS ส่วนที่ 8: การควบคุมการรับสัมผัสและป้องกันส่วนบุคคล • TLV • BLV (BEI) • Exposure Control • เน้น Engineering Control และ Personal Control 27
SDS ส่วนที่ 9: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี • ให้สอดคล้องกับจำแนกประเภทตามกายภาพและสุขภาพ/สิ่งแวดล้อม 28
SDS ส่วนที่ 10: ความเสถียรทางเคมี (Chemical Stability ) และความไวต่อปฏิกิริยา (Reactivity) • ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย • สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง • วัสดุที่เข้ากันไม่ได้ • เกิดการแตกตัวเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย 29
SDS ส่วนที่ 11:ข้อมูลด้านพิษวิทยา • ให้จำแนกตามระบบ GHS ซึ่งระบุไว้ 10 ประเภท • คำพูด ข้อเขียน วลี จะต้องใช้อย่างระมัดระวัง • ไม่ให้ข้อมูลในเชิงลบ เช่น การกล่าวว่า “ การศึกษาการเป็นมะเร็งในหนู พบว่าไม่มีการเพิ่มขึ้นที่เป็นนัยสำคัญกับอุบัติการณ์ของมะเร็ง” • ระบุเส้นทางที่อาจได้รับหรือสัมผัสเพิ่มขึ้น เช่นระบบย่อยอาหาร ตาและ ผิวหนัง เป็นต้น 30
SDS ส่วนที่ 11:ข้อมูลด้านพิษวิทยา(ต่อ) • อธิบายอาการที่มีผลต่ำสุดจนถึงผลสูงสุด • คำนวณค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน • ผลจากปฏิกิริยา • ความเป็นพิษของสารผสมต้องให้ข้อมูลด้านเป็นพิษของ องค์ประกอบของแต่ละตัว 31
SDS ส่วนที่ 12: ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศนวิทยา • การสะสมทางชีวภาพ • ความคงอยู่นาน • ความสามารถในการย่อยสลาย • ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม(สิ่งมีชีวิตในน้ำ) 32
SDS ส่วนที่ 13: ข้อพิจารณาในการกำจัดของเสีย • วิธีการกำจัด • การกลับนำไปใช้ใหม่ 33
SDS ส่วนที่ 14: ข้อมูลการขนส่ง • ให้เป็นไปตามมาตรฐานการขนส่ง เช่น การลงทะเบียน , การบรรจุ,ขั้นตอนการขนส่งทั้งทางบก,ทางน้ำและทางอากาศ 34
SDS ส่วนที่ 15: ข้อมูลทางด้านกฏระเบียบข้อบังคับ • กฎระเบียบด้านความปลอดภัย • กฏระเบียบด้านสุขภาพ. • กฏระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม 35
SDS ส่วนที่ 16: ข้อมูลอื่นๆ • วันที่ปรับปรุง แก้ไข แปล เปลี่ยนแปลง • อธิบายคำย่อ • เอกสารอ้างอิง 36
SDS ควรจัดให้มีที่ครอบคลุมเกี่ยวกับสารหรือของผสมเคมีเพื่อใช้แนวทางตามกฏหมายในการควบคุมสารเคมีในสถานประกอบการ (Workplace chemical control regulatory frameworks)ทั้งผู้ว่าจ้างและผู้ปฏิบัติงานใช้ข้อมูลดังกล่าวเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตราย ซึ่งรวมถึงความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับมาตรการด้านความปลอดภัย (Safety precautions) 37
SDS ยังจัดให้มีแหล่งสำคัญของข้อมูลสำหรับกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง(target audiences) อื่นๆในระบบ GHS ข้อมูลบางส่วนอาจนำไปใช้โดยผู้มีส่วนเกี่ยข้องกับการขนส่งสินค้าอันตราย ผุ้ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน(รวมถึงศูนย์พิษวิทยา; poison centres 38
SDSการผลิตขึ้นมาให้ครอบคลุมสารและของผสมซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ทำให้เป็นระบบเดียวสำหรับความเป็นอันตรายทางกายภาพ ต่อสุขภาพหรือต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้ระบบGHS และสำหรับของผสมทั้งหมดที่ประกอบด้วยสารซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์สำหรับสารก่อมะเร็ง(carcinogenic)เป็นพิษต่อการสืบพันธุ์(toxic to reproduction)หรือเป็นพิษกับระบบอวัยวะเป้าหมาย (target organ systemic toxicity)ในความเข้มข้นเกินกว่าค่าจุดตัด(cut-off limits) 39
ค่าจุดตัด(cut-off limits values)/ค่าจำกัดความเข้มข้น(concentration limits) สำหรับประเภทความเป็นอันตรายต่อสุขภาพละต่อสิ่งแวดล้อม 40
SDS จะสำเร็จได้อย่างไร ? • Authorized Body • Institution / Lab for testing • Bridging Net Work • Education 41
GHS 2008 • Classify • Label • HCS • SDS • Training 42
Competency Having the gualifications or capaility to perform some task. “ความมีคุณสมบัติ หรือความสามารถที่จะปฏิบัติงาน” 43
“คุณสมบัติทางสมรรถนะงาน “ “Work Competency” 44
Standard of Competency มาตรฐานทางคุณสมบัติ ด้านความสามารถ 45
One professional has to define itself..... for Competence คุณสมบัติด้านความสามารถจะต้องได้รับการให้คำนิยาม และขอบเขตของแต่ละวิชาชีพ 46
Function of competencyอย่างน้อยประกอบด้วย เนื้องานที่ทำ (Task) ความรู้ (knowledge) ความเก่ง/ชำนาญ (skill) 47
Competence Authority “ผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง คุณสมบัติทางความสามารถ” 48