90 likes | 370 Views
การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award: PMQA ). ประกอบ ทองดำ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 1. โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA).
E N D
การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ประกอบ ทองดำ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 1
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) Module 1 หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Module 1 • Module 1 • หลักการและเหตุผลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Benefits & Values) • 1.1 ความเป็นมา • 1.2 หลักการและเหตุผล • 1.3 ประโยชน์
ประวัติของเกณฑ์ PMQA ปีที่เริ่ม มอบรางวัล ชื่อเกณฑ์รางวัลคุณภาพ ประเทศ สหรัฐอเมริกา Malcolm baldrige National Quality Award(MBNQA) 1987 ออสเตรเลีย Australian Business Excellence Award (ABEA) 1988 สหภาพยุโรป European Quality Award (EQA) 1989 สิงคโปร์ Singapore Quality Award (SQA) 1994 ญี่ปุ่น Japan Quality Award (JQA) 1995 ไทย Thailand Quality Award (TQA) 2002 Public Sector Management Quality Award (PMQA) ?
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย • หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ • การบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐาน • การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพ PMQA ผล วิธีการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ องค์ประกอบที่ผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ประสิทธิผล การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล คุณภาพ การนำองค์กร ประสิทธิภาพ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ พัฒนาองค์กร การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การพัฒนาตามแนวทาง PMQA Yes No ส่วนราชการทราบจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุง การประเมินส่วนราชการด้วย ตนเอง (Self-Assessment) รายงานผลการดำเนินการ เบื้องต้นของส่วนราชการ 2 1 3 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 5 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่างๆ (Management Tools and Projects) ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ได้รับรายงานป้อนกลับ พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล คุณภาพ การนำองค์กร ประสิทธิภาพ การจัดการ กระบวนการ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พัฒนาองค์กร การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้