150 likes | 325 Views
การเจรจาด้านการเปิดตลาดสินค้า FTA ไทย-สหรัฐฯ. อภิรดี ตันตราภรณ์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 24 มกราคม 2549. $13,000mn. $15,000mn. $7,000mn. ความสำคัญของตลาดสหรัฐฯในการทำ FTA.
E N D
การเจรจาด้านการเปิดตลาดสินค้าFTA ไทย-สหรัฐฯ อภิรดี ตันตราภรณ์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 24มกราคม 2549
$13,000mn $15,000mn $7,000mn ความสำคัญของตลาดสหรัฐฯในการทำ FTA • ตลาดส่งออกอันดับหนึ่งของไทย การส่งออกของไทยในปี 2004 มีมูลค่าประมาณ 15,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 2005 ม.ค.-พ.ย. ส่งออก 15,500 ล้านเหรียญ คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐฯเป็นตลาดส่งออกสำคัญที่สุดของไทย ตลาดส่งออกของไทยปี 2004 Source: World Trade Atlas, 2006
ความสำคัญของตลาดสหรัฐฯในการทำ FTA • การแข่งขันเพิ่มมากขึ้นจากจีน และประเทศที่สหรัฐฯ มี FTA ด้วยเช่น CAFTA ในสินค้าพาสตา อาหารสำเร็จรูป โทรทัศน์ เสื้อผ้าสำเร็จรูป จีน ไทย Source: World Trade Atlas, 2006 ส่วนแบ่งตลาดของสินค้าไทยในสหรัฐฯลดลงอย่างต่อเนื่อง
แนวโน้มการค้าระหว่างไทย-สหรัฐฯแนวโน้มการค้าระหว่างไทย-สหรัฐฯ มูลค่า % Billion 17 การส่งออกของไทยไปสหรัฐฯ มูลค่าเพิ่มขึ้นมาก แต่ส่วนแบ่งตลาดลดลง 1.30 16 1.25 ส่วนแบ่งตลาด 1.20 15 2002 2003 2004 % Billion 8 10 การส่งออกของสหรัฐฯ มายังไทย มูลค่าเพิ่มขึ้นน้อยกว่า ส่วนแบ่งตลาดลดลงเร็วกว่า มูลค่า 7 9 ส่วนแบ่งตลาด 6 8 2002 2003 2004
ความสำคัญของตลาดสหรัฐฯในการทำ FTA โครงการ GSP ของสหรัฐฯจะหมดอายุภายใน 31 ธ.ค. 2549 และไม่มีการันตีใดว่าไทยจะได้ต่ออายุ Source:กรมศุลกากร และ WTA 2006 สัดส่วนการส่งออกของไทยภายใต้โครงการ GSP สหรัฐฯ ไทยพึ่งพิงการส่งออกภายใต้ GSP ของสหรัฐฯสูงขึ้นโดยตลอด
1.สินค้าพร้อมลดภาษีเป็น 0ทันที 2.สินค้าปกติพร้อมลดภาษีใน 5 ปี 3.สินค้าอ่อนไหวลดภาษีเป็น 0ใน10ปี กระบวนการเจรจาลดภาษีของไทย • จัดกลุ่มสินค้าตามความพร้อม 4.สินค้าอ่อนไหวสูงลดภาษียาวกว่าสิบปีและมีมาตรการปกป้องเพิ่มเติม • หารือกับตัวแทนภาคเอกชน และหน่วยงานอื่นๆ ศึกษา (ทบทวน) จัดทำ ข้อเสนอ หารือหน่วยงาน ภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุง ข้อเสนอ ยื่น ข้อเสนอ สหรัฐฯ ตอบสนอง
สถานะการเจรจาล่าสุด • มีการเจรจาเรื่องการลดภาษีไปแล้ว 4 รอบ • แลก Initial Request กับสหรัฐฯในเดือน ต.ค. 2548 • แลก Improved Offer ในเดือน ธ.ค. 2548 (สองฝ่าย • ปรับปรุงข้อเสนอของตนเองให้ดีขึ้น) • ล่าสุดสามารถตกลงลดภาษีเหลือ 0 ทันทีไปแล้ว • ประมาณ 70% • จะมีการแลกเปลี่ยน Improved Offer กันอีกครั้งใน • เดือน ก.พ. 2549 นี้
สินค้าที่ สหรัฐฯจะเปิดตลาดให้ไทย มูลค่าการนำเข้ารวมของสหรัฐฯจากไทย $17,259mn ลดภาษีทันที ภายใน 5 ปี ภายใน 10 ปี $1,790mn (11%) $2,119mn (12%) $12,810mn (74%) • เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ • ($1,400mn) • เครื่องแก้ว เซรามิค($267mn) • พลาสติก($218mn) • ผลิตภัณฑ์จากยาง($147mn) • ผลิตภัณฑ์จากไม้($140mn) • อาหารแปรรูป($136mn) • ผลิตภัณฑ์เหล็ก ($120mn) • เครื่องประดับมณี / เงิน / ทอง • (11 พิกัด $738mn) • เครื่องนุ่งห่ม (297 พิกัด $639mn) • รองเท้า (48 พิกัด $212mn) • ชุดสายไฟรถยนต์(1 พิกัด $149mn) • นาฬิกาและส่วนประกอบ (59 พิกัด $128mn) • ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ • (5 พิกัด $95mn) • เซรามิค (15 พิกัด $44mn) • ผักผลไม้แปรรูป (32 พิกัด $34mn) • เครื่องนุ่งห่ม (823 พิกัด $1,563mn) • ปลาทูนากระป๋อง (4 พิกัด $254mn) • ยานยนต์/ชิ้นส่วน (117 พิกัด $159mn) • ข้าว (2 พิกัด $158mn) • ผัก ผลไม้ แปรรูป (43 พิกัด $70mn) • รองเท้า (13 พิกัด $22mn) • น้ำตาล (51 พิกัด $7mn) • สินค้าที่เหลือเป็นสินค้า Sensitive • ที่สุดของสหรัฐฯ จำนวน 529 พิกัด (3%) • เครื่องนุ่งห่ม รองเท้ากีฬา (บางรายการ) • ปลาทูนากระป๋อง (บางรายการ) • รถปิกอัพ • สินค้าเกษตร TRQ ได้แก่ น้ำตาล ใบยาสูบ
สินค้าที่ ไทยจะเปิดตลาดให้สหรัฐฯ มูลค่าการนำเข้ารวมของไทยจากสหรัฐฯ $ 7,108mn ลดภาษีทันที ภายใน 5 ปี ภายใน 10 ปี $791mn (11%) $1,031mn (15%) $5,055mn (71%) • เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ • ($972mn) • เคมีภัณฑ์และปุ๋ย($568mn) • เหล็กและเหล็กกล้า($241mn) • เยื่อกระดาษและไม้($108mn) • เรือ ($60mn) • ผลิตภัณฑ์ยาง ($48mn) • ผลิตภัณฑ์น้ำมัน ($43mn) • เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ($194mn) • ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ • ($122mn) • ข้าวสาลี ($91mn) • อุปกรณ์ทัศนศาสตร์และอุปกรณ์ ทางการแพทย์ ($73mn) • กระดาษและหนังสือ($53mn) เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วยโลหะ • ($29mn) • เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ (18 พิกัด $226mn) • ผลิตภัณฑ์เหล็ก (8 พิกัด $193mn) • ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ (10 พิกัด $190mn) • อุปกรณ์เครื่องวัดเครื่องตรวจสอบ (4 พิกัด $96mn) • เครื่องสำอางและสบู่ (2 พิกัด $51mn) • เภสัชภัณฑ์ (2 พิกัด $45mn) • เครื่องปรุงแต่งอาหาร (5 พิกัด $45mn) • สินค้าที่เหลือเป็นสินค้า Sensitive และสินค้า TRQ ของไทย จำนวน 93 พิกัด (3%) • นมและผลิตภัณฑ์นม • ถั่วเหลือง มันฝรั่ง กระเทียม กาแฟ ข้าวโพด • ไก่ เนื้อวัว และเครื่องใน
Parliament Media SMEs NGOs การมีส่วนร่วมในการเจรจาลดภาษี สินค้าทั้งหมด 97 กลุ่ม สินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม สนง. เศรษฐกิจการเกษตร กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมการค้าต่าง ประเทศ สนง.เศรษฐกิจการคลัง สนง.เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กรมศุลกากร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าไทย ประชาชน ทั่วไป ทุกฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมในการเจรจาได้ผ่านช่องทางและหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นการเจรจาสินค้าอื่นๆประเด็นการเจรจาสินค้าอื่นๆ เพื่อให้สินค้าไทยสามารถเข้าสู่ตลาดสหรัฐฯได้จริง ทีมเจรจาจำเป็นต้องเจรจาในประเด็นอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการลดภาษี รวมถึงมาตรการที่สามารถใช้เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า • กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) • กระบวนการศุลกากร (Customs Procedures) • มาตรฐานสุขอนามัย (SPS) • มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม (TBT) • มาตรการปกป้องสินค้าเกษตร (Agricultural Safeguard)
กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) • แบ่งเกณฑ์การคิดแหล่งกำเนิดเป็น 3 ประเภท คือ >> Wholly Obtained(กฎการใช้วัตถุดิบในประเทศทั้งหมด) เช่น สินค้าเกษตร >> Substantial Transformation(กฎการแปรสภาพ) - เปลี่ยนพิกัดทางศุลกากร เช่น ปลาทูนากระป๋อง ผลไม้กระป๋อง - ผ่านกระบวนการผลิตที่เป็นกระบวนการที่สำคัญ เช่น เคมีภัณฑ์ >> Local Content(กฎสัดส่วนการใช้วัตถุดิบในประเทศ) เช่น รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า • เกณฑ์การคิดแหล่งกำเนิดของสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม >> Yarn Forward และข้อเสนอไทยเรื่อง Short Supply List และ TPL (Trade Preference Level)
มาตรการปกป้องสินค้าเกษตร (Special Safeguard) • เป็นมาตรการที่ให้ความคุ้มครองแก่สินค้าเกษตรที่มีความอ่อนไหวสูง เช่น เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์นม เครื่องในสัตว์ องุ่นสด/แห้ง เป็นต้น (นอกเหนือจาก TRQ) • สินค้าที่ได้รับความคุ้มครองจะเป็นสินค้าที่ยังไม่ได้รับความคุ้มครองจากมาตรการโควตา TRQ ใน FTA • ขณะนี้อยู่ระหว่างการเจรจาเรื่องรายการสินค้าที่จะอยู่ในข่ายได้รับความคุ้มครองจากมาตรการนี้ • กระทรวงเกษตรเป็นหน่วยงานหลักในการเจรจาเรื่องมาตรการปกป้อง
มาตรการสุขอนามัยพืชและสัตว์ (SPS) / อุปสรรคทางเทคนิคและมาตรฐานสินค้า (TBT) SPS • ไทยเสนอให้ใช้ Mutual Recognition Agreement เป็นเครื่องมือให้สองฝ่ายยอมรับมาตรฐานซึ่งกันและกัน (กำลังเจรจา) • ล่าสุดได้ตกลงจัดตั้ง คณะกรรมการร่วมมาตรฐานสุขอนามัยภายใต้ FTA ที่จะช่วยป้องกัน และแก้ไขเมื่อมีปัญหา SPS เกิดขึ้น • สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นหน่วยงานหลักในการเจรจา TBT • ไทยเสนอใช้ MRAเป็นเครื่องมือให้มีการยอมรับมาตรฐานซึ่งกันและกัน (กำลังเจรจา) • ไทยผลักดันให้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการร่วมด้านมาตรฐาน TBT เช่นเดียวกับ SPS • สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นหน่วยงานหลักในการเจรจา
รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติมรายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม Website www.thaifta.com www.dtn.moc.go.th สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมCall Center โทร. 02-507-7555 02-507-7680 02-507-7687