370 likes | 746 Views
การจัดทำโครงการขอรับสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม. โดย... น.ส.ตุลาพร อนันต์นาวีนุสรณ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี). กองทุนสิ่งแวดล้อม. จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม 2535 หมวด 2 (มาตรา 22 – 31)
E N D
การจัดทำโครงการขอรับสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมการจัดทำโครงการขอรับสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม โดย... น.ส.ตุลาพร อนันต์นาวีนุสรณ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี)
กองทุนสิ่งแวดล้อม • จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม 2535 หมวด 2 (มาตรา 22–31) • เป็นมาตรการทางการเงินสนับสนุนในรูปเงินอุดหนุนและเงินกู้ • ให้แก่ ส่วนราชการ, อปท., รัฐวิสาหกิจ, เอกชน, NGOs ในการ • จัดการควบคุมมลพิษ, การป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ • และสิ่งแวดล้อม ภายใต้ความร่วมมือทุกภาคส่วน • หลักการ.. ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย
การบริหารงานกองทุน ๑. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ๒. คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม - พิจารณาจัดสรรเงินกองทุน กำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ๓. คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ๒ ชุด คือ - คณะอนุกรรมการด้านการจัดการมลพิษ (Brown) - คณะอนุกรรมการด้านทรัพยากรธรรมชาติ (Green) ๔. ผู้จัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม - บมจ. ธนาคารกรุงไทย ( กรณี เงินกู้ ) - กรมบัญชีกลาง ( กรณี เงินอุดหนุน )
วัตถุประสงค์ของกองทุนฯวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ สนับสนุนส่วนราชการ, อปท., รัฐวิสาหกิจ, และ เอกชนในการจัดให้มีระบบควบคุม บำบัด และขจัดมลพิษในรูป เงินอุดหนุนและ เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ มาตรา ๒๓ (๑) (๒) และ (๓) สนับสนุนส่วนราชการ, อปท., NGO ด้านการส่งเสริม รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (เงินอุดหนุน) มาตรา ๒๓ (๔) 4
ทางเลือก-หลักเกณฑ์-เงื่อนไข การสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม กรณี เงินอุดหนุน กรณี เงินกู้ ด้านการส่งเสริม รักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม ก่อสร้าง/ปรับปรุง ระบบควบคุม บำบัด และ ขจัดมลพิษ (น้ำ, ขยะ, อากาศ)
กรณีเงินอุดหนุน 1 โครงการด้านการส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) หลักเกณฑ์–เงื่อนไขการสนับสนุน (การดำเนินกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามที่คณะกรรมการกองทุนฯ เห็นสมควร และโดยความเห็นชอบ ของ กก.วล. ) ผู้มีสิทธิ์ขอรับการสนับสนุน - ส่วนราชการ/ อปท. - เอกชน / NGOs ที่จดทะเบียนกับ ทส. เสนอโครงการต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สผ.) วงเงินสนับสนุน:ไม่เกิน 5 ล้านบาท/โครงการ 6
กรณีเงินอุดหนุน 1 กรอบการสนับสนุน (ปี 54-55) 1 2 3 4 5 ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรน้ำ การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม
กรณีเงินอุดหนุน 1 แนวทางการพิจารณา 1 ลักษณะโครงการภาพรวม : 1) มีผลต่อการสนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรฯ โดยความร่วมมือของประชาชน 2) กิจกรรมมีส่วนช่วยส่งเสริม/สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐ และไม่ผิด/ขัดกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3) มีการพัฒนาองค์ความรู้-ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือมีการสร้าง/ คิดค้นนวัตกรรม เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาการจัดการทรัพยากรฯ ให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
กรณีเงินอุดหนุน 1 แนวทางการพิจารณา 2 3 4 2. แผนการดำเนินงาน : มีรูปแบบและวิธีการดำเนินงานของกิจกรรม ต่างๆ ของโครงการที่มีความชัดเจนสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างต่อเนื่อง 3. ความต่อเนื่องยั่งยืนของโครงการ : ต้องมีความชัดเจนหลัง สิ้นสุดการสนับสนุนจากกองทุน 4. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ :สามารถวัดผลลัพธ์สุดท้ายที่จะ เกิดขึ้นได้ ทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ
กรณีเงินอุดหนุน 2 โครงการก่อสร้าง/ปรับปรุงระบบ ควบคุม บำบัด และ ขจัดมลพิษ น้ำเสียชุมชน ขยะชุมชน ผู้มีสิทธิ์ขอรับสนับสนุน - ส่วนราชการ/ อปท.เสนอโครงการโดยตรงต่อ สผ. ลักษณะโครงการ:เน้นโครงการจัดการด้าน.. 10
แนวทางการพิจารณา กรณีเงินอุดหนุน 2 คก.ก่อสร้าง/ปรับปรุงระบบควบคุม บำบัด ขจัดมลพิษ : โดยหลัก AFP 1 2 3 A = ยึดพื้นที่เป็นหลัก - สาเหตุ สภาพปัญหา ความรุนแรง แนวโน้มสถานการณ์ - พิจารณาในพื้นที่นั้นๆ และพื้นที่คาบเกี่ยว (ถ้ามี) F = กำหนดภารกิจ :เหตุผล ความจำเป็นของ คก.-กิจกรรม ที่ต้องเชื่อมโยงสอดคล้องกัน P = เน้นการมีส่วนร่วม :ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะคนในพื้นที่ คก.และใกล้เคียง เพื่อให้เกิดการยอมรับ สนับสนุน คก. 11
กรณีเงินอุดหนุน 2 แนวทางการพิจารณา (ต่อ) • โครงการด้าน น้ำเสียชุมชน • ... จะพิจารณาตามนโยบาย และพื้นที่เป้าหมายการจัดการน้ำเสียชุมชน พ.ศ. 2552-2559 ของกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) หรือความจำเป็นเร่งด่วน แผนระยะเร่งด่วน (พ.ศ. 2553 - 2559) ภาคตะวันออก ->ทม. 9 แห่ง, ทต.55 แห่ง, อบต.1 แห่ง http://www.pcd.go.th
กรณีอุดหนุน 2 แนวทางการพิจารณา (ต่อ) • โครงการด้าน น้ำเสียชุมชนขนาดเล็ก 1) ปริมาณน้ำเสียที่จะเข้าสู่ระบบ 50-500 ลบ.ม./วัน 2) วงเงิน ไม่เกิน 20 ล้านบาท การกำหนด อปท. เป้าหมาย... พิจารณาตามนโยบาย และพื้นที่เป้าหมายการจัดการน้ำเสียชุมชน พ.ศ. 2552-2559 ของกรมควบคุมมลพิษ
กรณีอุดหนุน 2 แนวทางการพิจารณา (ต่อ) • โครงการด้าน ขยะมูลฝอยชุมชน ขนาดเล็ก • 1) ปริมาณขยะมูลฝอย 5 - 10 ตัน/วัน • 2) วงเงิน ไม่เกิน 50 ล้านบาท • ทั้งนี้ พิจารณาตามความจำเป็นเร่งด่วน และความพร้อมของ อปท.# ยึดหลักการจัดการตั้งแต่ต้นทาง
กรณีอุดหนุน 2 หลักเกณฑ์–เงื่อนไข • ต้องบรรจุอยู่ภายใต้แผนปฏิบัติการ ฯ ระดับจังหวัด • มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องดำเนินการ และไม่สามารถขอตั้งงบ หรือไม่อาจหาเงินจากแหล่งอื่นได้ โดยความเห็นชอบจาก กก.วล. • มีความพร้อมและเหมาะสมเรื่องที่ดินก่อสร้างระบบ • มีผลศึกษา FS/DD โครงการ (ไม่เกิน 3 ปี นับถึงปีที่เสนอ คก.) แสดงความเหมาะสมและเป็นไปได้ทั้งด้านพื้นที่ เทคนิควิชาการ ด้านเศรษฐกิจ-สังคม และด้านการบริหารจัดการ โดยคำนึงความพร้อมของ อปท.
กรณีอุดหนุน 2 หลักเกณฑ์–เงื่อนไข (ต่อ) • มีแผนอัตราการจัดเก็บค่าบริการ (ม.88) และอัตราส่วนการหักส่ง • ค่าบริการที่จัดเก็บได้คืนกองทุนฯ (ม.93) • * กำหนดที่ ร้อยละ 3.50 ของรายได้ที่จัดเก็บ • อปท. ต้องสมทบงบฯ ร้อยละ 10 ถึง 50 ของวงเงินรวมของโครงการ • มีการยอมรับ ผ่านการระดมความเห็นจาก ประชาชน ในพื้นที่ • ได้รับความเห็นชอบจาก สภาของ อปท.เจ้าของ คก. และ • อปท.เจ้าของพื้นที่ตั้งระบบ • สอดคล้องนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพฯ และยุทธฯ จังหวัด
กรณีอุดหนุน 2 หลักเกณฑ์–เงื่อนไข (ต่อ) • อปท. ที่ได้รับเงินจากกองทุนฯ แล้ว จะต้องลงนามในบันทึก • ข้อตกลงการรับเงินอุดหนุนจากกองทุนฯ เพื่อกำกับการบริหาร คก. • อปท. เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดจากเงินชดเชยค่างานก่อสร้าง • ตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) รวมทั้งการปรับเพิ่มค่า • ใช้จ่ายอื่นๆ จากวงเงินที่ กก.กองทุนอนุมัติ (ถ้ามี) • โครงการมีการขยายเวลาดำเนินโครงการ อปท. จะต้องจ่าย • ค่าธรรมเนียมผูกพัน ในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี ของวงเงินที่ไม่ได้ • ทำการเบิกจ่ายและภายในระยะเวลาที่ขอขยายเวลาดำเนินการ
กรณีเงินอุดหนุน การจัดทำข้อเสนอโครงการ มี 13 ประเด็น • หลักการ และเหตุผล 2. วัตถุประสงค์ 3. เป้าหมาย 4. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐ/แผนประเทศ 5. พื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย 6. ระยะเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุด คก. • แผนงาน/กิจกรรม • วงเงินงบประมาณ • 9. แผนงาน การบริหารโครงการ • 10. การคำนวณผลตอบแทน คก. • 11. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • 12. ตัวชี้วัดผลสำเร็จ คก. • 13. การติดตาม ประเมินผล
กรณีเงินอุดหนุน เอกสารประกอบการยื่นพิจารณา ข้อมูลในรูปเอกสาร และไฟล์ Word, ไฟล์ลง CD • แผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ ...(แบบฟอร์ม ก.-ข.) (ทสจ.เป็นผู้จัดทำ) 2. ข้อเสนอโครงการ(แบบฟอร์ม ค.) 3. ผลการศึกษาความเหมาะสม (FS) 4. ผลออกแบบรายละเอียด (DD) 5. แบบรายละเอียด 6. รายการประมาณราคา (BOQ) 7. เอกสารที่ดิน 8. ผลการรับฟังความคิดเห็น 9. การสมทบงบประมาณ 10. แผนการบริหารจัดการโครงการ 11. รายการรายได้-รายจ่าย ของ อปท. 3 ปี ย้อนหลัง 12. แผนการจัดเก็บค่าบริการและ การส่งเงินคืนกองทุน
หลักเกณฑ์-เงื่อนไขการสนับสนุน กรณีเงินกู้ ตามมาตรา 23 (3) ผู้มีสิทธิ์ขอกู้ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยกเว้น อบต. - รัฐวิสาหกิจ ที่มีอำนาจตามกฎหมาย - เอกชน
หลักเกณฑ์-เงื่อนไขการสนับสนุน กรณีเงินกู้ 21 ขอบข่ายโครงการ (คก.) 1.คก.ของ อปท. / รัฐวิสาหกิจที่ต้องการลงทุนการดำเนินงาน ด้านระบบบำบัดอากาศเสีย บำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย หรืออุปกรณ์ใด สำหรับใช้ในกิจการการบำบัดมลพิษ 2.คก.ของเอกชนที่มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย/ น้ำเสีย/ ขจัดมลพิษ ที่เกิดจากกิจการของตนเอง หรือเป็นผู้รับจ้างให้บริการบำบัดน้ำเสีย/ของเสีย
หลักเกณฑ์-เงื่อนไขการให้การสนับสนุน กรณีเงินกู้ 22 วงเงินกู้:ตามที่ คกก.กองทุนฯเห็นควร แต่ไม่เกินวงเงิน ของระบบ/อุปกรณ์นั้น อัตราดอกเบี้ย1. ร้อยละ 2.25ต่อปี - สำหรับ อปท. 2. ร้อยละ 2.50ต่อปี - สำหรับ รัฐวิสาหกิจ 3. ร้อยละ 2.0ต่อปี - สำหรับ เอกชน กรณี มีหนังสือค้ำประกัน หรือ ร้อยละ 3.0ต่อปี กรณีใช้หลักทรัพย์อื่นค้ำประกัน
หลักเกณฑ์-เงื่อนไขการให้การสนับสนุน กรณีเงินกู้ การชำระคืน: 23 ในระหว่างระยะปลอดชำระเงินต้น ให้ชำระดอกเบี้ยตาม ระยะเวลาที่ผู้จัดการกองทุนสิ่งแวดล้อมกำหนด
ของ อปท./รัฐวิสาหกิจ 1 2 3
ของ อปท./รัฐวิสาหกิจ เอกสารด้านการเงิน 4
ของ อปท./รัฐวิสาหกิจ เอกสารด้านการเงิน (ต่อ) 4