240 likes | 445 Views
พระราชปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต่อการกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืน.
E N D
พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวต่อการกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืนพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวต่อการกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืน
ในปี พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้เสด็จเยี่ยมราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ทอดพระเนตรเห็นราษฎรที่มาเฝ้ารับเสด็จฯ ป่วยเป็นโรคเรื้อน ทั้งสองพระองค์ทรงห่วงใยในความเป็นอยู่ของผู้ป่วยเหล่านี้และทรงสนพระราชหฤทัยในการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนที่กรมอนามัยได้ดำเนินการอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น จึงโปรดเกล้าฯ ให้นายแพทย์สวัสดิ์ แดงสว่าง ซึ่งขณะนั้น ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมอนามัยกราบบังคมทูลรายงานการดำเนินงานโครงการควบคุมโรคเรื้อน จากนั้นได้มีพระราชกระแสรับสั่งให้เร่งรัดโครงการควบคุมโรคเรื้อน ซึ่งกรมอนามัยได้รับมาปรับปรุงโครงการเพื่อให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ แต่การดำเนินการเร่งรัดงานจำเป็นต้องมีการอบรมเจ้าหน้าที่เพื่อการนี้ รวมทั้งต้องมีการศึกษาค้นคว้า สนับสนุนการปฏิบัติงานให้ดำเนินการได้เร็วยิ่งขึ้น
พระราชปณิธาน • เป็นโครงการในพระราชดำริ ตั้งแต่ ปี 2499 • พระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้จัดสร้างอาคาร “สถาบันราชประชาสมาสัย” แก่กระทรวงสาธารณสุข • พระราชทาน ทุนทรัพย์ ในการก่อตั้ง “มูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์” • พระราชทาน ทุนทรัพย์ ให้สร้างโรงเรียน “ราชประชาสมาสัย” สำหรับบุตรผู้ป่วยเรียนร่วมกับเด็กทั่วไป • พระราชทาน ทฤษฎี แนวทาง การควบคุมควบคุมโรคเรื้อน
พระราชดำรัส พระราชทานแก่ ศ.นพ.สวัสดิ์ แดงสว่าง อธิบดีกรมอนามัย ปี พ.ศ.2499 “---สมควรเร่งรัดโครงการควบคุมโรคเรื้อนให้ครอบคลุมทั่วประเทศให้รวดเร็วขึ้น---” “---หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนควรร่วมมือประสานสนับสนุนซึ่งกันและกัน---”
ราชประชาสมาสัย หมายถึง พระมหากษัตริย์ และประชาชนย่อมอาศัยซึ่งกันและกัน
เสด็จพระราชดำเนินวางศิลาฤกษ์สถาบันราชประชาสมาสัยเสด็จพระราชดำเนินวางศิลาฤกษ์สถาบันราชประชาสมาสัย เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2501 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดำเนิน ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารสถาบันราชประชาสมาสัยซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณสถานพยาบาลพระประแดงอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารสถาบันราชประชาสมาสัย วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเปิดอาคารสถาบันราชประชาสมาสัย
พระราชทานเงินทุนเริ่มแรกในการก่อตั้งมูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปิดอาคารวิจัย(6 ก.ค.2522)ผู้ป่วยโรคเรื้อนได้เข้าเฝ้าใกล้ชิด
พระราชทานวโรกาส ให้ คณะบุคคลผู้ปฏิบัติงานโรคเรื้อนทั้งภาครัฐ เอกชน เข้าเฝ้า2 มิถุนายน 2540
การรณรงค์ในวโรกาสสำคัญการรณรงค์ในวโรกาสสำคัญ 1st LEC ปี 2539 รณรงค์ทั้งประเทศ(National LEC) • โครงการปีรณรงค์ประชาร่วมใจกำจัดโรคเรื้อน ถวายเป็นพระราชกุศล ทรงครองราชย์ครบ 50 ปี (โครงการปรร.50)
การรณรงค์ในวโรกาสสำคัญการรณรงค์ในวโรกาสสำคัญ 2nd LEC ปี 2543 : เฉพาะพื้นที่ (Focus LEC) • โครงการการรณรงค์ค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในชุมชน ที่มีปัญหาความชุกสูง เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศล เนื่องในวโรกาส ครบรอบ 72 พรรษา (โครงการ คปรร.72)
การรณรงค์ในวโรกาสสำคัญการรณรงค์ในวโรกาสสำคัญ 3rdปี 2545 : เฉพาะพื้นที่(Focus LEC) 1 ใน 9 โรค ในใจของกรมควบคุมโรคติดต่อ • โครงการรณรงค์ประชาร่วมใจ เร่งรัดกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืน ถวายเป็นพระราชกุศล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2545 (โครงการปรร. 2545)
ผลสำเร็จของโครงการรณรงค์ 3 ครั้ง
สรุปผล โครงการควบคุมโรคเรื้อนในพระราชดำริพ.ศ.2499-2547(48 ปี) อัตราผู้ป่วยต่อประชากร 1 หมื่นคน 100 เริ่มขยายโครงการชำนัญพิเศษแบบค้นหารักษาผู้ป่วยที่บ้านปี 2500 ปรร.50 ปี 2539-2540 ปี 2513 ปี 2519 ปี 2528 คปรร.72 ปี 2543 เริ่มใช้ยาเคมี บำบัดผสมแบบ ใหม่ (MDT) ตาม ข้อแนะนำWHO เริ่มโอนมอบ งานโรคเรื้อน ให้จังหวัด โอนมอบและ ขยายงานครบ ทุกจังหวัด อัตราความชุก (Prevalence) ปรร.2545 ปี 2545 10 ปี 2537 16 ม.ค.03 2504 อบรมปฐมนิเทศ แพทย์/เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข 216 รุ่น(3 วัน) 8,634 คน ทุกจังหวัด พระราชทานมูลนิธิ ราชประชาสมาสัย กำจัดโรคเรื้อน ได้ไม่เป็นปัญหา สาธารณสุข (ความชุก <1/หมื่น) เสด็จพิธีเปิดสถาบัน ราชประชาสมาสัย ปรร.60 ปี 2548 – 2550 16 ม.ค.01 พระราชทาน/พิธี เปิดโรงเรียน ราชประชาสสัย 16 ม.ค.05 เสด็จพิธีวาง ศิลาฤกษ์ 1 อัตราการค้นพบผู้ป่วยใหม่ (Detection Rate) ถึงสิ้นปี 2547 • ค้นพบผู้ป่วยทั่วประเทศ • มารักษาที่บ้าน 172,474 ราย • รักษาหายหมดคงเหลือรักษาอยู่ที่บ้าน • เพียง 1,440 ราย • ค้นพบผู้ป่วยใหม่ปี 2547 รวม 652 ราย • มีเพียง 1 จังหวัด • (นราธิวาส ) • ที่อัตราความชุก>1 • / 1 หมื่นประชากร 0.23/1หมื่น ประชากร สถาบันราชประชาสมาสัย • มีเพียง 35 อำเภอ • ใน 16 จังหวัดที่ • อัตราความชุก>1 • ผลิตพนักงานโรคเรื้อน 23 รุ่น(6 เดือน)577 คน • ผลิตพนักงานอนามัย2 รุ่น(2 ปี) 80 คน 0.1 • ผลิตผู้นิเทศงานโรคเรื้อน 8 รุ่น 80 คน 0.1/1 หมื่น ประชากร • อบรมแพทย์นานาชาติ 2 รุ่น 30 คน ร่วมกับ WHO 2499 2504 2509 2514 2519 2524 2529 2534 2539 2544 2549 ปี พ.ศ.
โครงการ รณรงค์ประชาร่วมใจกำจัดโรคเรื้อนในพื้นที่อำเภอที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี(โครงการ ปรร.60)16 มกราคม 2548 – 9 มิถุนายน 2550
การรณรงค์กำจัดโรคเรื้อนการรณรงค์กำจัดโรคเรื้อน • จุดมุ่งหมาย • ค้นหาผู้ป่วยที่เป็นโรคแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัย • เสริมสร้างกิจกรรมที่มีอยู่แล้วให้เข้มแข็ง • พื้นที่ดำเนินการ(73 อำเภอ ใน 27 จังหวัด) • พื้นที่ที่มีการระบาดสูง • แหล่งรวมผู้ป่วยที่เป็นโรคแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษา
พื้นที่เป้าหมาย 73 อำเภอ ใน 27 จังหวัด
ชุดนิทรรศการ พระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต่องานควบคุมโรคเรื้อน
ท่านผู้หญิงสุมาลี จาติกวนิช ประธานมูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
...พระมหากษัตริย์ พระองค์เดียวในโลกที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ต่อ ผู้ป่วยโรคเรื้อน ซึ่งด้อยโอกาส ถูกตราบาป สังคมรังเกียจ อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ เริ่มทรงครองสิริราชสมบัติ...