380 likes | 578 Views
โครงการกองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. นายธงชัย สาระกูล ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน. มีแนวคิดที่จะทำอะไร. ทำให้วัณโรคเป็นเรื่องของชุมชน. เป็นโรคของชุมชน และจิตสังคม มีผลกระทบกับชุมชน. บทบาทของคน ในชุมชน. มีความคาดหวังอะไร VISION.
E N D
โครงการกองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายธงชัย สาระกูล ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ทำให้วัณโรคเป็นเรื่องของชุมชนทำให้วัณโรคเป็นเรื่องของชุมชน เป็นโรคของชุมชน และจิตสังคม มีผลกระทบกับชุมชน บทบาทของคน ในชุมชน
มีความคาดหวังอะไร VISION
“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพ“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและ สังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา””
ต้องการเห็นหรือให้เกิดอะไรขึ้นต้องการเห็นหรือให้เกิดอะไรขึ้น ในการทำงานวัณโรค กองทุนโลก รอบที่ 8 ที่เราจะร่วมกันสรรสร้าง DESTINATION
อปท. ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากร อย่างพอเพียงและต่อเนื่อง โดยทำข้อตกลงท้องถิ่น • อสม.เป็นแกนนำเฝ้าระวัง&พี่เลี้ยงกินยา • ท้องที่เป็นแกนนำมาตรการทางสังคม • สถานบริการส่งต่อข้อมูลและหนุนเสริมการทำงานกัน • หน่วยงานภาครัฐ&ผู้รับทุนรองหนุนเสริมในทิศทางเดียวกัน • ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยงกินยา • ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง • ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมของชุมชน • มีแผนงานโครงการของชุมชน โดยชุมชน • มีระบบข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลของชุมชน ข้อมูลเท่าเทียม คนมีศักยภาพ ใช้ SRM ระบบสื่อสารดี มีประสิทธิภาพ M&E ได้ผล
บทบาทและพฤติกรรมประชาชนบทบาทและพฤติกรรมประชาชน ความเข้มแข็งของชุมชน
เสริมสร้างพลังชุมชน (Community Empowerment) สินทรัพย์ชุมชน ศักยภาพชุมชน ขุมพลังชุมชน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวแห่งความสำเร็จแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวแห่งความสำเร็จ และร่วมกันจัดการหัวใจของความสำเร็จ ของการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมวัณโรคโดยชุมชน
พัฒนาบทบาทของชุมชนและประชาชนพัฒนาบทบาทของชุมชนและประชาชน
เสริมพลังเสาหลัก 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง ด้วย SRM อปท. กรรมการ กองทุน สุขภาพตำบล(อสม เป็นกรรมการ) อสม / แกนนำชุมชน/ท้องที่ สมรรถนะองค์กร กระบวนการบริหารจัดการ กองทุน กำลังคน บทบาทภาคี กองทุนชุมชน
ตำบล อบจ. อปท. สอ./รพ.ตำบล/ PCU อบต. เทศบาล สถานบริการ สุขภาพ ศูนย์บริการ กองทุน รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน อสม. แกนนำชุมชน อสม. ท้องที่
ตำบล อบจ. อปท. สอ./รพ.ตำบล/ PCU สื่อสาร โน้มน้าว สร้างความเข้าใจ อบต. เทศบาล สถานบริการ สุขภาพ พัฒนาหลักสูตร เครื่องมือ สื่อ สิ่งจูงใจ ศูนย์บริการ กองทุน รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน อสม. แกนนำชุมชน อสม. ท้องที่ เพิ่มพูนความรู้ทักษะ
ตำบล อบจ. อปท. สื่อสาร โน้มน้าว สร้างความเข้าใจ สอ./รพ.ตำบล/ PCU อบต. เทศบาล พัฒนาหลักสูตร คู่มือ สื่อ สิ่งจูงใจ สถานบริการ สุขภาพ ศูนย์บริการ กองทุน บทบาทอสม. รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน อสม. แกนนำชุมชน อสม. ท้องที่ เพิ่มพูนความรู้ทักษะ ส่งข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเพื่อ Diagnosis /Curative &Verify ระบบเฝ้าระวังของชุมชน โครงการของชุมชนสร้างบทบาท฿ปรับพฤติกรรม
ระบบข้อมูลและสื่อสารข้อมูลชุมชนระบบข้อมูลและสื่อสารข้อมูลชุมชน สถานบริการส่งต่อข้อมูลให้ชุมชน DOT โดยชุมชน ตำบล อบจ. อปท. สอ./รพ.ตำบล/ PCU สื่อสาร โน้มน้าว สร้างความเข้าใจ อบต. เทศบาล DOT โดย จนท. สถานบริการ สุขภาพ พัฒนาหลักสูตร คู่มือ สื่อ สิ่งจูงใจ ศูนย์บริการ กองทุน บทบาทอสม. รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน อสม. แกนนำชุมชน อสม. ท้องที่ เพิ่มพูนความรู้ทักษะ ส่งข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเพื่อ Diagnosis /Curative &Verify โครงการของชุมชนสร้างบทบาท฿ปรับพฤติกรรม ระบบเฝ้าระวังของชุมชน มาตรการของชุมชน
สถานบริการส่งต่อข้อมูลให้ชุมชนสถานบริการส่งต่อข้อมูลให้ชุมชน ระบบข้อมูลและสื่อสารข้อมูลชุมชน กำหนดมาตรการวิชาการ ถ่ายระดับ SRM M&E ปรับกระบวนทัศน์ หนุนจังหวัด SRM ข้อตกลงท้องถิ่น M&E DOT โดยชุมชน ตำบล อบจ. อปท. สอ. ศูนย์บริการสาธารณสุข สนับสนุนชุมชน ข้อตกลงท้องถิ่น สอ./รพ.ตำบล/ PCU สื่อสาร โน้มน้าว สร้างความเข้าใจ เสริมชุมชน SRM ข้อตกลงท้องถิ่น อบต. เทศบาล สถานบริการ สุขภาพ พัฒนาหลักสูตร คู่มือ สื่อ สิ่งจูงใจ DOT โดย จนท. ศูนย์บริการ กองทุน บทบาทอสม. รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน ส่วนกลาง&SR ศูนย์วิชาการเขต ภาค อสม. รพช. สสอ. M&E แกนนำชุมชน อสม. ท้องที่ สสจ. ส่งต่อข้อมูล เพิ่มพูนความรู้ทักษะ ส่งข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเพื่อ Diagnosis /Curative &Verify สื่อสาร เชื่อมต่อข้อมูล สนับสนุน รพศ. รพท. ส่งต่อข้อมูล M&E สื่อสาร เชื่อมต่อข้อมูล ปรับกระบวนทัสน์ โครงการของชุมชนสร้างบทบาท฿ปรับพฤติกรรม ระบบเฝ้าระวังของชุมชน มาตรการของชุมชน
สื่อสาร ส่งต่อข้อมูล สนับสนุนทรัพยากร M&E ระบบข้อมูลและสื่อสารข้อมูลชุมชน สถานบริการส่งต่อข้อมูลให้ชุมชน DOT โดยชุมชน มีงานอะไร ทำที่ไหน จำนวนเท่าไหร่ วัดประเมินผลอย่างไร งบประมาณเท่าไหร่ ใครมีส่วนร่วม ตำบล อบจ. อปท. ส่วนกลาง: กำหนดมาตรการทางวิชาการ สอ./รพ.ตำบล/ PCU สื่อสาร โน้มน้าว สร้างความเข้าใจ ศูนย์เขต฿ภาค: สนับสนุน M&E อบต. เทศบาล DOT โดย จนท. สถานบริการ สุขภาพ พัฒนาหลักสูตร คู่มือ สื่อ สิ่งจูงใจ ศูนย์บริการ กองทุน บทบาทอสม. รพศ./รพท. สสอ. หมู่บ้าน อสม. แกนนำชุมชน รพท. รพศ. รพช.: ส่งต่อข้อมูลให้ สอ. M&E อสม. สสจ: ส่งต่อข้อมูลสนับสนุน M&E ท้องที่ เพิ่มพูนความรู้ทักษะ ส่งข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเพื่อ Diagnosis /Curative &Verify โครงการของชุมชนสร้างบทบาท฿ปรับพฤติกรรม ระบบเฝ้าระวังของชุมชน มาตรการของชุมชน
งานที่ต้อง SDA 1.1 การให้ความสำคัญการดำเนินงาน TB ในชุมชนโดย อปท.(สบส.หลัก)
งานที่ต้องทำ SDA 3.1Community TB Care(สบส.หนุนเสริม)
SDA 1.1 การให้ความสำคัญการดำเนินงาน TB ในชุมชนโดย อปท. กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด งบประมาณและการจัดสรร
SDA 3.1Community TB Care กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด งบประมาณและการจัดสรร
SDA 1.1 การให้ความสำคัญการดำเนินงาน TB ในชุมชนโดย อปท. กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด งบประมาณและการจัดสรร
ภาคีเดรือข่ายดำเนินงานภาคีเดรือข่ายดำเนินงาน กรมวิชาการส่วนกลางและSR ศูนย์วิชาการเขตภาค ปรับกระบวนทัศน์ ปรับกระบวนทัศน์ กำหนดมาตรการทางวิชาการร่วมกัน สนับสนุนจังหวัด เรื่องSRM ถ่ายระดับ SRM สบส.ทำแนวทาง สื่อสารและเชื่อมต่อข้อมูล สื่อสารและเชื่อมต่อข้อมูล หนุนเสริมพื้นที่แบบเสริมพลังกันให้เกิดข้อตกลงท้องถิ่นและDOT หนุนเสริมพื้นที่แบบเสริมพลังกัน M&E เดือนละครั้ง M&E เดือนละครั้ง
ภาคีเดรือข่ายดำเนินงานภาคีเดรือข่ายดำเนินงาน สสจ. สถานบริการ คร. เป็นแกน :ปรับกระบวนทัศน์ ทำตาราง 11 ข่อง SLM ส่งต่อข้อมูล นิยามพฤติกรรมประชาชน จัดระบบรายงาน ปรับกระบวนทัศน์ สื่อสาร ส่งและเชื่อมต่อข้อมูลกับชุมชน สช.เป็นแกน: จัดประชุมอำเภอ ตำบล เพิ่มพูนทักษะ อสม. แกนนำ หนุนเสริมพื้นที่แบบเสริมพลังกันให้เกิดข้อตกลงท้องถิ่นและDOT สช. หลักประกัน คร.เสริมสร้างพลังชุมชนให้เกิดข้อตกลง &DOT สช. M&E และรายงานทุกเดือน M&E และรายงานทุกเดือน
ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรแก่ชุมชน: ข้อตกลงท้องถิ่น อบต. เทศบาล อบจ. มอบอำนาจหน้าที่และสนับสนุน อสม. และกำนัน ผญบ. จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร ใช้มาตรการทางสังคม ปกครองท้องที่ ร่วมจัดทำแผนงาน โครงการ กิจกรรม PPTB สร้างระบบเฝ้าระวังของชุมชน ถ่ายทอดความรู้ และจัดระบบสื่อสารข้อมูลชุมชน อสม. เป็นพี่เลี้ยงหรือคัดเลือกพี่เลี้ยงในการกินยา ริเริ่มงานใหม่ๆ จัดทำแผนงาน โครงการ M&E ร่วมกับจนท. บันทึกผลงาน คกก.กองทุนสุขภาพตำบล สนับสนุนทรัพยากร แผนงาน โครงการชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าร่วมเป็นคกก.
หลักฐานความสำเร็จ ข้อตกลงของท้องถิ่น:เอกสารบันทึกข้อตกลง ภาพถ่ายสำเนาป้ายประกาศ ข้อตกลงหรือมาตรการทางสังคมของท้องถิ่นกับชุมชน รายงานการประชุม สำเนาแผนงาน โครงการที่ได้รับการอนุมัติ จำนวนผู้รับการรักษาแบบDOT:แบบรายงานประจำเดือนของจังหวัด ผ่านระบบอิเล็คทรอนิค ส่วนการหายป่วยเป็นไปตามระบบรายงานปกติของกรมควบคุมโรค ตามที่สถานบริการรายงาน หมายเหตุ: หลักฐานทุกชนิดให้จัดทำเป็นไฟล์อิเล็คทรอนิค
ก่อนจบท่านอาจมีข้อสงสัยก่อนจบท่านอาจมีข้อสงสัย • แบบไหนถึงจะเรียกหรือนับว่ามีข้อตกลงของท้องถิ่น
สคร.และพื้นที่จะใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ได้หรือ ? • กรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ได้จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการร่วม 2 กรม และจะนำไปถ่ายระดับให้จังหวัดภายในเดือนสิงหาคม2552 • กรมควบคุมโรคและกรมอนามัย จะประชุมสคร.และศูนย์อนามัยเขตทุกแห่ง เพื่อมอบ SLM ร่วม 2 กรม ให้นำไปปฏิบัติ ภายในเดือนสิงหาคม2552 • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กำหนดเงื่อนไขให้กองทุนสุขภาพตำบลทุกแห่ง มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • กระทรวงสาธารณสุข มอบนโยบายและกำหนดตัวชี้วัดผู้ตรวจราชการ ให้จังหวัดมีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • ประชาชนสามารถเฝ้าระวังและติดตามสภาวะการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง • ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่พัฒนาขึ้นอย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติการตามนั้น • ประชาชนมีมาตรการทางสังคมเพื่อควบคุมหรือส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี • ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแลสภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพที่ดี ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • อปท.มีการสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง • อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคมในพื้นที่สามารถพัฒนาชุมชนให้สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาสุขภาพและสภาวะแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมได้ • ภาคีเครือข่ายการพัฒนาทุกระดับ(ระดับกรม/เขต/สสจ./อปท.) สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง
ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) • มีการบริหารจัดการภาคีเครือข่ายทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ • มีระบบสนับสนุนการพัฒนาแบบบูรณาการ • มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงานโครงการพร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ • มีระบบการสื่อสารหลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน • มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาสุขภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • องค์กรมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย • ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย • ชุมชน บุคลากรและองค์กรร่วมมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลง
SLM ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม