440 likes | 1.17k Views
โรคปลาสวยงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส. วท.บ. (วาริชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ M.S. (Fisheries) Auburn University, AL, USA M.S. (Medical Microbiology) University of Georgia, GA, USA กำลังศึกษาปริญญาเอก สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
E N D
โรคปลาสวยงามผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส • วท.บ. (วาริชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ • M.S. (Fisheries) Auburn University, AL, USA • M.S. (Medical Microbiology) University of Georgia, GA, USA • กำลังศึกษาปริญญาเอก สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรียนปลาสวยงามเพื่ออะไรเรียนปลาสวยงามเพื่ออะไร • เพลิดเพลิน นันทนาการ ช่วยในการพัฒนา สภาพจิตใจของผู้จัด หรือผู้พบเห็น ให้เกิดความรู้สึกสดชื่น • ตกแต่งบ้าน ที่ทำงาน แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ช่วยให้พื้นที่และภายในตัวอาคารบ้านเรือนสวยงาม สดชื่น น่าอยู่อาศัย • โอกาสนำเชื้อโรคมาสู่ผู้เลี้ยงน้อย • ฝึกสร้างนิสัยอ่อนโยน โอบอ้อมอารี รู้จักชีวิตธรรมชาติที่ดี • ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • เพื่อการประกวดแข่งขัน • เพิ่มรายได้ สร้างอาชีพ นำรายได้เข้าสู่ประเทศชาติ • มีตลาดรองรับหรือไม่ • ปรับเกรดสะสม รู้จักเพื่อนใหม่ • ทำไมปลาตาย
ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดโรคปลาปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดโรคปลา • แบคทีเรีย • ไวรัส • เชื้อรา • ปรสิต ชนิด พันธุกรรม อายุ เชื้อโรค ปลา สิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำ อาหาร สารพิษต่าง ๆ การตีอวนย้ายบ่อ การขนส่ง
คุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมกับชนิดของปลาคุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมกับชนิดของปลา • อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสม • ปลาเขตร้อน ไม่ควรต่ำกว่า 25 oC • ไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้ำอย่างรวดเร็ว • ควบคุมไม่ให้เกิดการสะสมของแอมโมเนียในน้ำ • ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ • ปราศจากคลอรีนและสารพิษ
มือใหม่โปรดระวังปลาเป็นโรคมือใหม่โปรดระวังปลาเป็นโรค • ปลาเป็นสัตว์เลือดเย็น • ศึกษาความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต • ควรมีความหนาแน่นของปลาต่อขนาดของตู้ปลาเท่าใด • ควรมีน้ำมากน้อยเพียงใด • ควรให้อาหารชนิดใดจึงจะเหมาะสม • แหล่งที่มาของปลา : แหล่งธรรมชาติ เพาะเลี้ยง ปรับปรุงพันธุ์ นำเข้า • การโยกย้ายปลาควรระมัดระวัง • ปลาอ่อนแอ ง่ายต่อการติดเชื้อ นำไปสู่การระบาดของโรค • ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่นำสัตว์น้ำพืชน้ำต้องห้าม มาเลี้ยง
สิ่งที่ควรรู้ในการเลี้ยงปลาตู้สิ่งที่ควรรู้ในการเลี้ยงปลาตู้ • ธรรมชาติของปลาที่ต้องนำมาเลี้ยงในตู้ปลาแต่ละชนิด • ความเป็นอยู่และลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน
ลักษณะของปลาที่เป็นโรคลักษณะของปลาที่เป็นโรค • การว่ายน้ำ การหายใจผิดปกติ • เซื่องซึม • กินอาหารน้อยลง ไม่กินอาหาร • สีสันผิดไปจากปกติ • ตกเลือดบริเวณผิวหนัง • ท้องบวม ตาโปน • ครีบและหางกร่อน • เกล็ดหลุด • มีเมือกมาก
การป้องกันโรคเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงปลาสวยงามการป้องกันโรคเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงปลาสวยงาม • ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่สะอาด • คัดเลือกพันธุ์ปลาที่แข็งแรงปลอดโรค • ปล่อยปลาในจำนวนที่เหมาะสม • การสังเกตความผิดปกติของครีบ ตา ลำตัว • การเคลื่อนไหวในแต่ละวัน การรวมฝูงของปลา • ให้อาหารที่ดีมีคุณภาพ • สังเกตการกินอาหารของปลา • ทำความสะอาดตู้หรือบ่อเลี้ยงเป็นครั้งคราว • การใช้ยาและสารเคมี เมื่อมีการขนย้ายปลา มีบาดแผล • ใช้ Nitrifying bacteria กำจัดของเสียในตู้ปลา
ข้อพึงปฏิบัติ • พันธุ์ปลาที่นำมาปล่อยควรมีการกักโรคก่อนอย่างน้อย 7 วัน อาจแช่ฟอร์มาลินในอัตราส่วน 25 มิลลิลิตรต่อน้ำ 1,000 ลิตร • ไม่ให้อาหารปลาหลังจากปล่อยปลาใหม่ ๆ เพราะการขนส่งและเปลี่ยนถ่ายน้ำใหม่ ทำให้ปลาเครียด • ทำความสะอาดอาหารมีชีวิต โดยการแช่ในด่างทับทิม 0.4 กรัม ต่อน้ำ 100 ลิตร นาน 10 นาที แล้วล้างน้ำสะอาดก่อนนำไปให้ปลา • ก่อนส่งปลาไปจำหน่าย ต้องให้ปลาอดอาหารประมาณ 1 วัน เพื่อป้องกันไม่ให้ปลาขับถ่ายของเสียลงถุงในปริมาณมาก
โรคที่เกิดจากปรสิตภายนอกโรคที่เกิดจากปรสิตภายนอก • ทำให้เกิดรอยโรคที่ผิวหนังปลา ปลามีความสวยงามลดลง • ปลามีอาการคัน ว่ายน้ำเอาตัวถูตู้ วัสดุในบ่อหรือบ่อ • การติดเชื้ออย่างรุนแรง ทำให้ปลาป่วย สุขภาพอ่อนแอ ติดเชื้อแทรกซ้อนได้ง่าย
เห็บระฆัง (Trichodina sp.) • รูปร่างคล้ายระฆัง ส่วนหลังโค้ง ส่วนล่างเว้าสำหรับเกาะติด • มีขนเรียงกัน (ciliate) เรียงขนานกัน 2 แถวใช้ในการเคลื่อนที่ spinning motion • ด้านในจะมีตะขอแบน ๆ เรียงซ้อนกัน ใช้สำหรับการเกาะบริเวณซี่เหงือกและผิวหนังของปลาทั่วไป • การระบาดจะเกิดในช่วงที่ปลาเครียดและคุณภาพน้ำที่แย่ลง
Ich : Ichthyopthirius • ก่อให้เกิดโรคจุดขาว • พบในปลาเสือตอ ปลาตะพัด ปลาหางนกยูง ปลาบึก • ปรสิตที่สามารถมองเห็นได้ด้วย ตาเปล่า พบเป็นจุดขาวตามตัว • มักเกิดในช่วงหน้าหนาว ควรใช้เครื่องปรับอุณหภูมิช่วย • ฟอร์มาลิน 25-50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 1,000 ลิตร นาน 24 ชั่วโมง www.aquarium.net/0197/0197_1.shtml
เห็บปลา • เกิดจากปรสิตชื่อ Argulus sp. ซึ่งมีลักษณะกลม ใส ขนาดประมาณ 5-7 มิลลิเมตร • สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เกาะอยู่ตามลำตัว เหงือกและครีบปลา ทำให้ปลาเกิดบาดแผล • ปลาจะว่ายน้ำกระวนกระวาย ถูตัวกับผนังตู้ • พักปลาที่ขนส่งมาใหม่ ล้างตู้ให้สะอาด http://216.31.193.173/fish/shared/nfl/disease.htm
โรคเกล็ดตั้ง • เกิดจากความผิดปกติของไต • การใช้ยามากเกินไป หรืออาจเกิดจากปลาได้รับโปรตีนมากเกินไป • อาจเป็นอาการของโรคโดยเฉพาะที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย • ยังไม่ทราบวิธีรักษาที่แน่นอนแต่ถ้าเกิดโรคนี้ขึ้นมาในบ่อเลี้ยงควรรีบแยกปลาที่เป็นโรคออกเสียเพราะโรคนี้สามารถระบาดติดต่อกันได้ง่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผิวหนังของปลาเกิดเป็นแผลขึ้น • ล้างบ่อให้สะอาด ตากบ่อให้แห้ง ล้างด้วยด่างทับทิม 1 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร http://www.bellaonline.com/articles/art3619.asp
โรคท้องบวม • การผิดปกติของโครงสร้างภายใน • ความบกพร่องของการพัฒนาของเซลล์ • การติดเชื้อโรคในอวัยวะภายใน • การสะสมของของเหลวในช่องท้อง • ได้รับอาหารที่ไม่มีคุณภาพ
โรคที่เกิดจากแบคทีเรียโรคที่เกิดจากแบคทีเรีย • แบคทีเรียหลายชนิดมีอยู่แล้วในแหล่งน้ำ จะทำอันตรายกับปลา เมื่อปลาอ่อนแอ • อาจเกิดจากคุณภาพไม่ดี อาหารเหลือ พันธุ์ไม้น้ำเน่า ปลาหนาแน่น • ก่อให้เกิดโรควัณโรคปลา ท้องบวม ครีบกร่อน ตัวด่าง แผลตามตัว
โรคตกเลือด (hemorrhagic septicemia) • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Aeromonas hydrophila • แพร่กระจายอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำ • ตกเลือดบริเวณครีบ ลำตัว อาจเกิดเป็นแผลหลุม ท้องขยายใหญ่ ตับซีด • ใช้ oxytetracycline (Terramycin) 55 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักปลา 1 กิโลกรัมต่อวัน ผสมอาหารกินติดต่อกัน 10 วัน www.vet.uga.edu/vpp/undergrad/siegel
ปรสิตหนอนสมอ : Lernea sp. • มีลักษณะหัวคล้ายสมอเรือ • ยาวประมาณ 0.6-1.2 เซนติเมตร • ใช้ส่วนหัวฝังไปในกล้ามเนื้อปลา • ใช้ดิพเทอร์เร็กซ์ 0.2 ppm แช่ตลอด ทำทุก 3 สัปดาห์ ติดต่อกัน 3 ครั้ง • ทำความสะอาดตู้และบ่อ www.biosci.ohio-state.edu/~parasite/lernea.html www.fish.wa.gov.au/sf/broc/fhinfo/fhinfo05.html
วัณโรคปลา (Mycobacteriosis) • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก Mycobacterium spp. • พบในปลาสวยงามน้ำจืดและน้ำทะเล เช่น ปลากัด ปลาเทวดา • อาจติดเชื้อมาจากอาหารมีชีวิต พวกไรแดง ลูกน้ำ ติดเชื้อทางบาดแผลและพ่อแม่พันธุ์ • ปลาซูบผอม ลอยตัวบริเวณผิวน้ำ เกล็ดตั้ง ตาโปน • ไม่มียาต้านจุลชีพในการรักษา • รักษาความสะอาดของตู้
โรคที่เกิดจากเชื้อรา • มักเกิดร่วมกับโรคอื่น ๆ มีเชื้อราเกิดเป็นปุยขาว • ฆ่าเชื้อราโดยใช้เบตาดีน 2 – 4 ppm แช่นาน 24 ชั่วโมง • ระวังมิให้ปลาเกิดบาดแผล และหมั่นดูแลรักษาความสะอาดตู้ www.bellaonline.com
โรคที่เกิดจากไวรัส • ยังไม่มีการศึกษามากนักสำหรับ ไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคในปลาเขตร้อน • โรคที่พบบ่อยคือ โรคแสนปม (lymphocystis disease) ปลาที่เป็นโรคจะมีตุ่มลักษณะคล้ายหูดสีขาวหรือสีเหลืองบนเหงือก ครีบและ ลำตัว • รักษาไม่หาย ควรแยกปลาออก ทำความสะอาดตู้ ที่มา www.vet.uga.edu/vpp/clerk/Kurkjian/
Koi Herpes Virus (KHV) • สร้างความเสียหาย 5.5 ดอลลาร์สหรัฐในอินโดนีเซีย และ 1.4 ดอลลาร์สหรัฐในญี่ปุ่น • มีการตกเลือดบริเวณเหงือก เนื้อตาย • ผู้นำเข้าจะต้องทำการกักกันปลาที่นำเข้ามาเป็นเวลา 15 วันโดยจะต้องสุ่มตัวอย่างปลาที่นำเข้ามาให้สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำจืดของกรมประมงทำการตรวจสอบ
ปัญหาการขาดสารอาหาร • ปลาแต่ละชนิดต้องการสารอาหารต่างกัน • ปลาขาดโปรตีนจะเจริญเติบโตผิดปกติ แคระแกรน • ปลาที่ได้รับคาร์โบไฮเดรทหรือไขมันไม่เพียงพอ จะมีความผิดปกติที่ตับ ทำให้โอกาสติดเชื้อโรคได้ง่าย • ปลาขาดวิตามินซี จะมีกระดูกคดงอ หัวกระโหลกร้าว
โรคเสียการทรงตัว • อาการ :ปลาจะว่ายน้ำหมุนควงตีลังกาเสมอๆไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ • อาจเกิดจากการผิดปรกติของกระเพาะลมโดยปลาอาจกินอาหารมากเกินไปทำให้อาหารไปกดกระเพาะลมทำให้กระเพาะลมทำงานผิดปรกติหรืออาจเป็นเพราะอุณหภูมิน้ำต่ำมากเกินไปทำให้กระเพาะลมของปลาทำงานผิดปรกติ • การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมอย่างกระทันหันทำให้ปลาปรับสภาพไม่ทัน • การป้องกันและการรักษาหลีกเลี่ยงอย่าให้ปลากินอิ่มมากจนเกินไปเพราะอาจเป็นสาเหตุให้อาหารไม่ย่อยซึ่งอาหารในกระเพาะของปลาอาจไปกดถูกกระเพาะลมควรควบคุมอุณหภูมิน้ำให้อยู่ในระดับสม่ำเสมอหลีกเลี่ยงการย้ายปลาไปมาโดยไม่จำเป็น ใช้เกลือ 0.5% (5 กรัมในน้ำ 1 ลิตร)
ข้อควรระวังในการส่งปลาสวยงามเข้าประกวดข้อควรระวังในการส่งปลาสวยงามเข้าประกวด • สถานที่ประกวดปลา • ระยะทางในการขนส่ง • การปรับสภาพปลา • การป้องกันโรค
ขอให้นักศึกษาทุกคนโชคดีในการศึกษาเล่าเรียนขอให้นักศึกษาทุกคนโชคดีในการศึกษาเล่าเรียน www.geocities.com/chanagun