140 likes | 498 Views
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน. สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฎ เชียงราย. ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน. คำจำกัดความ
E N D
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียนทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียนทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน คำจำกัดความ Kuachakและ Eggen = การบริหารการจัดชั้นเรียน ประกอบด้วย ความคิด การวางแผน และการปฏิบัติทั้งหลายทั้งปวงของครูที่สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมอย่างเป็นระบบระเบียบ และส่งเสริมการเรียนรู้ Moore = การบริหารจัดการชั้นเรียน เป็นกระบวนการของการจัดระบบระเบียบ และนำกิจการของห้องเรียนให้เกิดการเรียนรู้
รูปแบบในภาพรวม 1. Assertive discipline model (AD) 2. Noncoercive discipline model (ND) 3. Behavior modification model (BM) 4. Teacher effectiveness training model (TET) 5. Positive classroom discipline (PCD) 6. Cooperative discipline model (CD) 7. Positive discipline in the classroom model (PDC) 8. Discipline with dignity model (DWD)
แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารการจัดการชั้นเรียนแนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารการจัดการชั้นเรียน 1. การบริหารการจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 2. เป็นไปไม่ได้ที่จะแยกการบริหารการจัดการชั้นเรียน กับหน้าที่การจัดการเรียนการสอน 3. การบริหารชั้นเรียนเป็นความท้าทายของการเป็นครู มืออาชีพ
การเตรียมตัวเพื่อการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพการเตรียมตัวเพื่อการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ครูต้องสร้างข้อกำหนดที่ชัดเจนและมีขั้นตอนการ ปฏิบัติได้ 2. ครูพัฒนาระบบในการยึดเหนี่ยวนักเรียนให้ รับผิดชอบการเรียนได้ 3. ครูต้องมีทักษะการวางแผน 4. ครูต้องมีทักษะการแก้ปัญหา 5. ครูต้องยอมรับอิทธิพลระหว่างบุคคล 6. ครูสามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่คาดหวังได้
ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอนความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน 1. ความประสานสอดคล้อง 2. สร้างพลังในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ วินัยเชิงบวกในห้องเรียน วิธีพบปะในชั้นเรียนจะทำให้นักเรียนได้รับประโยชน์ 1. การพัฒนาการรับรู้ 2. การพัฒนาทักษะสำคัญๆ
วินัยเชิงบวกเกิดได้ด้วยการสอนเชิงบวกวินัยเชิงบวกเกิดได้ด้วยการสอนเชิงบวก 1. การสอนจะต้องเอาใจใส่ด้วยการสังเกตครูที่มี แนวคิดเชิงบวก 2. พฤติกรรมทั้งหลายทั้งปวงในห้องเรียนเป็นสิ่งที่ เรียนรู้ได้เกือบทั้งหมด 3. การเรียนรู้รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเป็นผลที่เกิดตามมา 5. พฤติกรรมที่เหมาะสมย่อมได้รับอิทธิพลจาก บริบทของห้องเรียน
บรรยายกาศในชั้นเรียน Moore ให้แนวทางในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในห้องเรียน 1. ครูคาดหวังสิ่งที่ดีที่สุดจากนักเรียน 2. เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. มีส่วนร่วมในความคาดหวังซึ่งกันและกัน 4. สร้างบรรยากาศเชิงบวก 5. ทุกกิจกรรมต้องให้นักเรียนมีส่วนร่วม