690 likes | 846 Views
“ สถานการณ์และระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ”. แพทย์หญิงฉายศรี สุพรศิลป์ชัย นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี. วัตถุประสงค์.
E N D
“สถานการณ์และระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ” แพทย์หญิงฉายศรี สุพรศิลป์ชัย นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
วัตถุประสงค์ พัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรมควบคุมโรคในด้านระบาดวิทยาของปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บและการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ประสานความรวมมือระหว่างเครือข่ายในส่วนกลางและเครือข่ายส่วนภูมิภาค เป็นเวทีแลกเปลี่ยนกลาง
บทบาทของการบริการสาธารณสุข(Public Health Services) Public health services are very broad and include services in the area of health protection, communicable disease surveillance, disaster preparedness and response, disease prevention services delivered to the community and individual and health promotion, also at community and individual level
The 10 Essential Public Health Operations (EPHOs) 2012 …(1) • Surveillance of population health and well-being • Monitoring and response to health hazards and emergencies • Health protection, including environmental,occupational, food safety and others • Health promotion, including action to address social determinants and health inequity • Disease prevention, ……Risk Management including early detection of illness
The 10 Essential Public Health Operations (EPHOs) 2012 ….(2) • Assuring governance for health and well-being • Assuring a sufficient and competent public health workforce • Assuring sustainable organizational structures and financing • Advocacy, communication and social mobilization for health • Advancing public health research to inform policy and practice
รู้สถานการณ์ และระบาดวิทยา ไปทำไม ???
เข้าใจ สภาพภาวะคุกคามต่อสุขภาพ รอบๆตัวเรา ชุมชนของเรา และชุมชนที่ตนต้องรับผิดชอบ ................. ?? .............................. ??
ประสิทธิผลการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่คาดหวังจากผู้บริหารนโยบายฯประสิทธิผลการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่คาดหวังจากผู้บริหารนโยบายฯ ลดจำนวนการตาย ลดการเกิดโรครายใหม่ในประชากร ลดการเข้าอยู่ในโรงพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดการเข้าอยู่ในโรงพยาบาล และเพิ่มคุณภาพชีวิต เพิ่มการเข้าถึงบริการที่จำเป็น ใช้จ่ายการดูแลอย่างคุ้มค่าและลดการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย
สถานการณ์อะไรที่ต้องรู้ เข้าใจ และติดตาม สถานการณ์โรคและปัจจัยกำหนดที่เกี่ยวข้อง สถานการร์ค่าใช้จ่าย ภาระพึ่งพิง และภาระการบริการ ................. .................
ตัวอย่างการติดตามสถานการณ์ประเทศออสเตรเลียตัวอย่างการติดตามสถานการณ์ประเทศออสเตรเลีย
4 categories of indicator set Category 1 – indicators that are considered to be high-impact in nature and that can be used for ‘one-head line statistic’ reporting Category 2- indicators that complete the picture given by thosenin category 1 Contextual indicators- indicators that do not directly relate to chronic disease but provide a broad view of the health environment Indicators for development – this is a temporary category for two indicators that require further researched development Ref: Key indicators of progress for chronic disease and associated; Data report June 2011; AIHW
Criteria for KIP Set Be relevant Be applicable across population groups Be technical sound Be feasible Be timely Be markable
โรคไม่ติดต่อ (Noncommunicable diseases) • หมายถึง “กลุ่มของโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่การเกิดโรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า ได้แก่ การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่เกินไม่ถูกสัดส่วนและเหมาะสมทางโภชนาการ การขาดการออกกำลังกาย และความเครียด ฯลฯ โดยมีรากมาจากวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีสุขภาพ (Unhealthful lifestyles and environment)ส่วนใหญ่ของกลุ่มโรคนี้เป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีความสำคัญหลักทางด้านสาธารณสุขจากผลต่อการป่วย ความพิการ และการตายก่อนวัยอันควร จำนวนมาก” แหล่งข้อมูล: องค์การอนามัยโลก พ.ศ. ๒๕๔๐
What is chronic diseases ? • “ ..are mostly characterised by complex causality, multiple risk factors, long latency periods, a prolong course of illness and functional impairment or disability (AIHW 2002). • The chronic diseases are the focus of the KIP set are those which are considered in the some way preventable, largely through behaviors, or those taht react favourly in terms of management and medical treatment Zif they are detected and treated in their early stages.
63% of the world’s annual deaths are due to NCDs, approximately 25% of which are premature (below 60 years) and could be prevented Source : The Global status report on noncoommunicable diseases 2010, WHO 2011
สถานการณ์โลกและประเทศไทยสถานการณ์โลกและประเทศไทย • โรคไม่ติดต่อสำคัญนับเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในประเทศที่มีรายได้ปานกลางถึงต่ำ • สถานการณ์การระบาดของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปัจจุบันอยู่ในสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโลก • ประเทศไทยถูกจัดว่าอยู่ในหนึ่งในยี่สิบสี่ประเทศที่มีภาระโรคสูงของโลก อ้างอิง: Ala Alwan, et al. Chronic Diseases: Chronic Diseases and Development: Monitoring and surveillanceof chronic non-communicable diseases: progress and capacity in high-burden countries . The 2007 Lancet Chronic Diseases Series see http://www. Thelancet.com/series/ chronic-diseases.
อย่างน้อย 4 กลุ่มโรค 4 ปัจจัยเสี่ยงหลักเพื่อลด การตาย การเจ็บป่วย การเกิดโรค ภาระโรค ค่าใช้จ่าย กลุ่มโรค กลุ่มปัจจัยเสี่ยง บริโภคแอลกอฮอล์ในขนาดและรูปแบบบริโภคที่อันตรายต่อสุขภาพ บริโภคยาสูบ บริโภคเกินไม่ได้สัดส่วน การเคลื่อนไหวและออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ • โรคหัวใจและหลอดเลือดรวมโรคความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • มะเร็ง • ระบทางเดินหายใจเรื้อรัง • โรคซึมเศร้า • โรคสมองเสื่อมก่อนวัย • โรคไตวายเรืื้อรัง • บาดเจ็บ • ความไม่สามารถจัดการความเครียดเรื้อรัง • สหปัจจัยเสี่ยงร่วม; ภาวะเมตาโบลิคซินโดรม • พฤติกรรมความไม่ปลอดภัย • Infetious diseases
ภาพที่ 1 อัตราตายต่อประชากร 100,000 ด้วยกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งและอุบัติเหตุจากการจราจรทางบก ปี พ.ศ.2541-2550 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รวบรวมโดย : กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
Trend of Crude Death rate (per 100,000) in Thailand from Stroke and Key activities in 1995-2007 Stroke Awareness & Comprehensive CVD Risk Screening Hypertension Awareness Screening for Hypertensive Diseases & Diabetes Mellitus Quality Standard HT & DM Screening Non- pharmacologic Care Increase Communication Thru Salt Net Start National Exercise Campaign Start CBI for Comprehensive risk reduction Source: BNCD (ฉ.2006) and edited in 2012
อัตราตายต่อแสนประชากรจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรค พ.ศ.2548-2553 ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สาเหตุสิบอันดับแรกของภาระโรคจากการตายและพิการก่อนวัยอันควร แยกตามเพศ ของประเทศไทย พ.ศ. 2542 ชาย หญิง อันดับ DALYs อันดับ DALYs เอดส์ 1 เอดส์ 1,032,313 18% 1 459,618 11% อัมพาต 2 อุบัติเหตุจราจร 623,339 11% 2 278,108 6% อัมพาต 3 234,737 4% 3 เบาหวาน 269,107 6% 4 มะเร็งตับ 205,785 4% 4 145,236 3% โรคซึมเศร้า 5 ทำร้ายผู้อื่นและ ความรุนแรง 169,624 3% 5 133,424 3% อุบัติเหตุจราจร 6 ฆ่าตัวตาย 159,948 3% 6 แรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย 123,008 3% 7 เบาหวาน 157,487 3% 7 121,780 3% มะเร็งตับ 8 โรคหลอดลมอุดกลั้น เรื้อรัง 149,188 3% 8 โรคกระดูกเสื่อม 120,769 3% โรคหลอดลมอุดกลั้น เรื้อรัง 9 141,012 2% 9 112,759 3% โรคหัวใจขาดเลือด แรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย 10 2% 10 102,400 2% 138,438 โรคหัวใจขาดเลือด
อัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรค พ.ศ.2548-2553 ที่มา: ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม และกรมบัญชีกลาง โดยสำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ หมายเหตุ: พ.ศ.2552 และ 2553 ข้อมูลผู้ป่วยในไม่รวมข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม รวบรวม/วิเคราะห์: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Population with Specific Important Risk Factors 2005 แหล่งข้อมูล: สำนักโรคไม่ติดต่อ (ฉ.2549) คาดประมาณจาก ‘*’ TBRFSS2548 ‘**’ TNHEXAM2546
Burden of Major Thai Chronic NCDs in 2005 Source: BNCD (ฉ.2006) esttimated from ‘*’ TBRFSS2548 ‘*
สถานการณ์ด้านสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ การสูญเสียทางเศรษฐกิจ: การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควรเนื่องจากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ www.nesdb.go.th ที่มา: รายงานโครงการศึกษาวิจัยแผนการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
แผนภูมิ แสดงความชุกของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานพ.ศ.2534-2552 แหล่งข้อมูล: การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 1, 2, 3
สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ความชุก 6.9% ความชุก 6.9% NHES III (2546-2547) NHES IV (2551-2552) ทราบว่าป่วย 68.8% เบาหวาน ทราบว่าป่วย 43.4% ควบคุมได้ 28.5% ควบคุมได้ 12.2% ความชุก 21.4% ความชุก 22.0% ความดันโลหิตสูง ทราบว่าป่วย 49.7% ทราบว่าป่วย 28.6% ควบคุมได้ 20.9% ควบคุม ได้ 8.6% ความชุก 19.4% ความชุก 15.5% ภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทราบว่าป่วย 27.3% ทราบว่าป่วย 12.9% ควบคุมได้ 14.8% ควบคุม ได้ 6.2%
Figure 2 Effective coverage of hypertension services Source: NHES (2004, 2009)
Figure 1 Effective coverage of diabetic services Source: NHES (2004, 2009)
is used by different people to mean different things. Combined with the fact that this is an issue which arouses strong feelings, there is clearly much scope for misunderstanding and fruitless polarization. “Integration”
การบูรณาการ ทำไมต้องบูรณาการ • ธรรมชาติของกลุ่มโรคไม่ติดต่อ • Cross cutting area • Life course related • Huge problems but Limited resources เพิ่มประสิทธิผล ประสิทธิภาพ
CINDI - INTEGRATED • COMMONALITY OF MAJOR RISK FACTORS, FIRST OFALL LIFE-STYLE RELATED • INTEGRATED ACTIONS • HEALTH PROMOTIVE • DISEASE PREVENTIVE • HEALTH CARE (PHC) WHO
C การเข้าถึงจาก การดูแลโรค การดูแลปัจจัยเสี่ยงและเงื่อนไข การดูแลให้มีสุขภาพ
ชุมชน ครอบครัว บุคคล ลดโอกาสเสี่ยง ลดปัจจัยเสี่ยง ลดโรค และภาระโรคเรื้อรัง มีความ เสี่ยงสูง พัฒนาข้อมูลข่าวสาร ระบาดวิทยา การวางแผน พัฒนาบุคลากร มี เป็นโรค และมี อาการ หลังเป็น ตามมา สัญญาณ ผิดปกติ เริ่มแรก มีอาการ เริ่มต้น ความ เสี่ยงต่ำ ผลที่ โรค C.Suorn ชุมชน กระบวนการชุมชนลดเสี่ยงลดโรค เฉียบพลันพร้อมรับ • รู้จัก • เฝ้าระวัง • เตรียมพร้อม • ซ้อมแผน รับรู้ สนใจ เรียนรู้ เพิ่มพลังชุมชน ค้นพบลดเสี่ยง มาตรการสังคม ปรับปรุงบริการฯ ประเมิน จัดการ ป้องกันความก้าวหน้าการดำเนินโรคสู่การเป็นโรค • ข้อมูล เรียนรู้ • สื่อสารต้องใจ • บูรณาการป้องกัน ระบบบริการเชิงรุก ชุมชน ครอบครัว บุคคล จัดการตนเอง เข้าถึงบริการและทรัพยากรที่จำเป็น ระบบบริการเชิงรับ นโยบาย, ค่านิยม กฎระเบียบ, ทรัพยากร , ผลิตภัณฑ์ทางเลือก งานเน้นหนักของกระบวนการรักษาอย่าง มีคุณภาพเพียงพอ ป้องกันความก้าวหน้าสู่ภาวะแทรกซ้อนและการเข้าอยู่ในโรงพยาบาล งานเน้นหนักของกระบวนควบคุมป้องกันโรค ปฐมภูมิ :ประชากร /:กลุ่มเสี่ยงสูง ตติยภูมิ: ก่อนปฐมภูมิ: ทุติยภูมิ • - สร้างความตระหนักและเรียนรู้เพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยง • - เฝ้าระวังความเสี่ยง & โรค • สร้างความเข้มแข็งชุมชน &หุ้นส่วน โลก • คัดกรอง ประเมิน ควบคุมปัจจัยเสี่ยง • พบโรคตั้งแต่ระยะต้น • ประเมินและป้องกันปัจจัยเสี่ยงในผู้เป็นโรค • คัดกรองและจัดการภาวะแทรกซ้อน • ดูแลต่อเนื่อง • ดำรงการบริการ • ฟื้นฟูสภาพ ท้องถิ่น งานเน้นหนักของกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ กฎหมายข้อบังคับ การเลือกของบุคคล ขับเคลื่อนการป้องกันสู่กลุ่มเสี่ยงสูง ปรับบริการพื้นฐาน มาตรฐานการบริการ/ ระบบปรึกษา-ส่งต่อ/ เข้าถึงบริการ ปรับ & พัฒนาคุณภาพต่อเนื่องของระบบบริการมุ่งผลลัพธ์บริการที่มีเป้าหมายสู่การลดโรค ปรับ260252
การมีส่วนร่วมเพื่อลดโอกาสเสี่ยงโรคเรื้อรังการมีส่วนร่วมเพื่อลดโอกาสเสี่ยงโรคเรื้อรัง การป้องกันในกลุ่มเสี่ยงสูง เพิ่มคุณภาพระบบบริการสนับสนุนควบคุมโรคเรื้อรัง โครงร่างปฏิบัติการภายใต้กลยุทธ์สาธารณสุขแบบบูรณาการเพื่อการป้องกันโรคระบาดเงียบ วิสัยทัศน์เพื่ออนาคต เงื่อนไขและสถานะสังคมและสิ่งแวดล้อมที่พึงประสงค์ต่อสุขภาพ แบบแผนพฤติกรรมที่เร้างเสริมสุขภาพ สามารถทำหน้าที่ได้เต็มประสิทธิภาพและความเสี่ยงต่ำต่อการเกิดซ้ำ ประชากรมีความเสี่ยงต่ำ คุณภาพชีวิตที่ดีจนกระทั่งตาย เจ็บป่วยน้อย/ไม่ตายก่อนวัยอันควร การเปลี่ยนแปลง นโยบายและ สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม การค้นหาและ ควบคุมปัจจัยเสี่ยง การดูแลในภาวะฉุก- เฉิน/การจัดการราย โรคระยะเฉียบพลัน การฟื้นฟูสภาพ / การจัดการรายโรค ที่ต้องดูแลระยะยาว การดูแลในช่วง- สุดท้ายของชีวิต กรอบการเข้าถึงการดำเนินการ สถานการณ์จริงในปัจจุบัน เงื่อนไขและสถานะสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่พึงประสงค์ การตาย / ภาวะแทรก ซ้อน และไม่สามารถทดแทนซ่อมแซมได้ ความพิการและความเสี่ยงต่อการเกิดซ้ำ แบบแผนพฤติกรรมที่เป็นปฏิปักษ์ ปัจจัยเสี่ยงหลักในร่างกาย ป่วยครั้งแรก/ตาย กระทันหันก่อนวัย เป้าประสงค์ร่วมกันของคนไทยแข็งแรงภายใต้เมืองไทยแข็งแรง เพิ่มคุณภาพและจำนวนปีของชีวิตสุขภาพ ลดความไม่เสมอภาค น้ำหนักสมดุล ลดอ้วน เพิ่มกิจกรรมทางกาย น้ำหนักเกินและอ้วนในชุมชนไทยไม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 ของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัย สามารถคุมเบาหวานและปัจจัยเสี่ยงได้ดี ร้อยละ 60 ของกลุ่มเสี่ยง เป้า4 เป้าหมายประชากร เน้นที่คนวัยทำงานและเยาวชนในสถานที่ทำงานและโรงเรียน โดยชุมชนผ่านทางผู้นำและท้องถิ่น ผู้ที่เป็นโรคได้รับการวินิจฉัย กำหนดเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงสูง คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงและสนับสนุนบริการ ป้องกันลดเสี่ยง ระบบบริการมีคุณภาพเพิ่มขึ้นเพียงพอที่จะสนับสนุนการจัดการตนเองและโรคและลดโอกาสเสี่ยงต่อการทำลายหลอดเลือด และสามารถเข้าถึงและจ่ายได้ในการบริการที่จำเป็น มีนโยบาย เทคนิค กิจกรรม สภาพแวกล้อม ที่เอื้อต่อการบริโภคพอดีและเคลื่อนไหวออกกำลัง และบริการที่จำเป็น เสนอประชุมพัฒนาชุดการวิจัยเบาหวานความดันฯ ฉ.เสนอ260252
ทิศขั้นตอนการดำเนินการให้สอดคล้องกับทรัพยากรในพื้นที่เพื่อลดปัญหาโรคเรื้อรังสำคัญอย่างมีประสิทธิผลประสิทธิภาพในประเทศไทยทิศขั้นตอนการดำเนินการให้สอดคล้องกับทรัพยากรในพื้นที่เพื่อลดปัญหาโรคเรื้อรังสำคัญอย่างมีประสิทธิผลประสิทธิภาพในประเทศไทย การประชุมผู้บริหารสำนักปลัดกระทรวง 28.12.50
National NCD Program Move to Department of Diseases Control in 2003 Health Reform Decentralization Reform Government System Thailand Civil society Policy Provincial and local government Policy NCD Universal Coverage Insurance MOPH Thai Health Foundation Fund
ทิศการป้อง กัน • มุ่งเน้นจัดการปัจจัยสาเหตุการเกิดและการดำเนินโรคต่อเนื่อง • การป้องกันปฐมภูมิเป็นพื้นฐานสำคัญ • การนำการป้องกันสู่ทุกระดับการบริการและการเข้าถึงการดูแล • การจัดการความเสี่ยงในระดับการดูแลปฐมภูมิ • การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทั้งโดยไม่ใช้ยาและใช้ยา • การสนับสนุนปรับวิถีชีวิต/การจัดการตนเอง • ความต่อเนื่อง ความครอบคลุมภาพรวม และ • การประสานการดูแลสุขภาพ • การขับเคลื่อนหน่วยบริการสาธารณสุขให้ตอบสนองโรคเรื้อรังอย่างมีคุณภาพ
ไทย (...ตัวอย่าง...) คิดเชิงระบบ – ปัจจัยความสำเร็จที่จำเป็น ในการป้องกันและจัดการโรคเรื้อรัง แคนาดา 1. เป้าประสงค์และคุณค่าร่วมกัน 2. เน้นที่ปัจจัยกำหนดสุขภาพ 3. ภาวะผู้นำ, หุ้นส่วน และการลงทุน 4. โครงสร้างภายในและความสามารถด้านสาธารณสุข 5. โครงสร้างภายในและความสามารถในการดูแลปฐมภูมิ 6. โครงสร้างภายในและความสามารถของชุมชน 7. การบูรณาการการป้องกันโรคเรื้อรังและการจัดการ 8. การกำกับติดตาม การประเมินผล และการเรียนรู้ นโยบายการป้องกันนำการรักษาในทุกระดับ ตอบสนองต่อบริบทผู้รับบริการและประชากรเป้าหมาย ภาวะผู้นำองค์กร สัมพันธ์ความร่วมมือผู้นำ ชุมชน ความเข้มแข็งของทีม เน้นปรับเปลี่ยนพฤฤติกรรม อยู่บนหลักฐานข้อเท็จจริง ปรับบริการให้เหมาะสม การกำกับและประเมินผล Ref.: A Tool for Strengthening Chronic Disease Prevention and Management Through Dialogue, Planning and Assessment:Introduction to the Tool. 2008 Canadian Public Health Association.http://www. cpha.ca/en/portals/CD.aspx (5 of 5) [5/10/2551 12:46:09]
National Goal/Strategic Outline/Main Strategic Collaboration (Disease Control System: quality/ standard/ strength/transparency etc.) Countries People: risk and diseases awareness, risk protection, self management and accessing service needed Social mobilization and campaign For awareness and risk reduction Health care net PCU/CHC Social Organization Regulation and Law enforcement for protection from risk Area Support for quality of prevention and control (focused on risk reduction and qulity improvement process) CEO and Provincial Managerial Organization Hlth Provincial Office Development needed Mechanism for prevention and control Consulting/ Collaboration and cooperation/ Monitoring and support/Regional evaluation ODC DDC.. With Other Depts, Surveillance and Information Development Development of social and campaign process Law Development and Enforcement Services System Quality Development Central and Regional System BNCD Development & Research HMR Development Policy and Plan Development 20 ปรับ2547
แผนภูมิ กงล้อความร่วมมือขับเคลื่อนการบูรณาการนโยบายและสมรรถนะสู่ความสำเร็จการพัฒนาระบบการป้องกันและจัดการโรคเรื้อรังไทย ตระหนัก จัดการ เอื้อสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรท้องถิ่น ชุมชนเข้มแข็งลดเสี่ยง ตระหนัก จัดการตนเอง ลดเสี่ยง ลดโรค เพิ่มคุณภาพชีวิต ตระหนัก ตอบสนอง สนับสนุนจัดการตนเอง สู่ระบบบริการสุขภาพที่ยั่งยืน ฉ.๐๕๐๑๕๓
แผนภูมิ แสดงผลกระทบของการลดลงของการตายจากการลดลงของค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต เป้าหมายระดับความดัน ระดับปัจจุบันก่อนดำเนินการ หลังดำเนินการ เป้าการลดระดับความดันโลหิต Reference: JAMA October 16, 2002 Vol 288, No.15; AMA