1 / 61

การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต กองทัพเรือ 19-20 มิถุนายน 2551. หัวข้อการบรรยาย. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้และพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้.

tudor
Download Presentation

การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต กองทัพเรือ 19-20 มิถุนายน 2551

  2. หัวข้อการบรรยาย ทำไมต้องมีการจัดการความรู้และพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ Click to add Title การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคนและงาน กรณีตัวอย่าง Company Logo

  3. I. ทำไม...??? ต้องมีการจัดการความรู้… และต้องพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้… Company Logo

  4. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ (1) เมื่อก้าวเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ... เราต้องเรียนรู้ให้รวดเร็วกว่าคู่แข่ง เรียนรู้ที่สัมพันธ์กับการทำงาน และสามารถปฏิบัติงานได้ดี และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Company Logo

  5. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก องค์กร และบุคคล (2) การเปลี่ยนแปลงระดับโลก การเปลี่ยนแปลงระดับสังคม การเปลี่ยนแปลงระดับองค์กร การเปลี่ยนแปลงระดับบุคคล Company Logo

  6. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ (3)  การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก  การเปลี่ยนผ่านของสังคมโลก...  จากสังคมเกษตรกรรม  สังคมอุตสาหกรรม  จากสังคมอุตสาหกรรม  สังคมสารสนเทศ  สังคมสารสนเทศ สังคมความรู้  ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  แปลงความรู้ให้เป็นนวัตกรรม สินค้า และบริการใหม่ๆ  ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Company Logo

  7. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ (4)  การเปลี่ยนแปลงในระดับองค์กร  โลกของการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไป งานไร้ทักษะ เปลี่ยนเป็น งานที่ต้องใช้ความรู้ การทำงานที่ซ้ำซากจำเจ เปลี่ยนเป็น งานสร้างสรรค์ งานใครงานมัน เปลี่ยนเป็น ทีมงาน งานตามหน้าที่ เปลี่ยนเป็น งานตามโครงการ งานที่ใช้ทักษะอย่างเดียว เปลี่ยนเป็น งานที่ใช้ทักษะหลากหลาย อำนาจของหัวหน้า เปลี่ยนเป็น อำนาจของลูกค้า การสั่งการจากเบื้องบน เปลี่ยนเป็น การประสานงานกับเพื่อนร่วมงาน  องค์กรขับเคลื่อนด้วยคนที่มีความรู้(Knowledge workers)  เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งให้ความสำคัญกับ การพัฒนาศักยภาพ ของมนุษย์ การเรียนรู้และความรู้  องค์กรสมรรถนะสูง / องค์กรอัจฉริยะ Company Logo

  8. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้(5)ทำไมต้องมีการจัดการความรู้(5)  การเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคล  กระบวนการทำงานที่มุ่งเน้น คุณภาพ ความเป็นเลิศ และการแข่งขันในระดับโลก  1995 Nonaka “The Knowledge Creation Company”  ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Processes) ในการทำงาน Company Logo

  9. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ (6) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสามารถ ประมวลผล ความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้องรวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้อง ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมี การเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกานี้” Company Logo

  10. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(1)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(1) Click to add Title Company Logo

  11. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (2) Click to add Title Company Logo

  12. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร: สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2.การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1.การนำองค์กร 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ Click to add Title 3.การให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 6.การจัดการ กระบวนการ 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Company Logo

  13. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - PMQA  องค์ประกอบหลักของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 1. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( 7 หมวด) 2.1 ส่วนที่เป็นกระบวนการ (หมวด 1-6) มี 3 กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มการนำองค์กร (หมวด 1-3: การนำองค์กรการวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์และการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) กลุ่มที่ 2 กลุ่มพื้นฐานของระบบ (หมวด 4: การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้) กลุ่มที่ 3 กลุ่มปฏิบัติการ (หมวด 5-6: การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล และการจัดการ กระบวนการ) 2.2 ส่วนที่เป็นผลลัพธ์ (หมวด 7) มี 4 มิติ คือ มิติด้านประสิทธิผลด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการและด้านการพัฒนาองค์กร Click to add Title Company Logo

  14. II. แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐาน เกี่ยวกับความรู้และ… การจัดการความรู้… Company Logo

  15. ความหมายของความรู้ ความเข้าใจที่ได้รับจากประสบการณ์หรือจากการศึกษา  ความสามารถในการทำให้ ข้อมูลและสารสนเทศมาเป็นการ กระทำที่มีประสิทธิภาพได้  ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และ ความเชี่ยวชาญซึ่งจะเป็นกรอบที่ทำให้เกิดประสบการณ์และ ความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน Company Logo

  16. ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาวน์ปัญญาแตกต่างกันอย่างไร (1)  ข้อมูล (Data)  ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล  กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน  สารสนเทศ (Information)  ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว  ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมาย  ความรู้ (Knowledge)  ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศ โดยมีการ จัดระบบความคิดเกิดเป็น “ความรู้และความเชี่ยวชาญ” Company Logo

  17. ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาวน์ปัญญาแตกต่างกันอย่างไร (2)  ความเฉลียวฉลาด (Wisdom)  การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่างๆ  เชาวน์ปัญญา (Intelligence)  ผลจากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่ง ก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไว ขัดเกลา / เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง / จดจำ ประมวลผล เชาวน์ปัญญา ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด Company Logo

  18. ประเภทของความรู้  ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) ความรู้เฉพาะตัวที่เกิดจากประสบการณ์ การศึกษา การสนทนา การฝึกอบรม เจตคติของแต่ละบุคคล เป็นความรู้บวกกับ สติปัญญา และประสบการณ์ ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลออกมาในรูปของ การบันทึกในรูปแบบต่างๆ ซึ่งก็คือสารสนเทศนั่นเอง ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) ความรู้ที่เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธา ซึ่งเกิดจากผลสะท้อน กลับของความรู้และสภาพแวดล้อมขององค์กร Company Logo

  19. การจำแนกลักษณะของความรู้การจำแนกลักษณะของความรู้  ความรู้หลัก (Core Knowledge) เป็นความรู้ในระดับพื้นฐานที่ทุกคนในองค์กรต้องการหรือ ต้องรู้  ความรู้ในระดับก้าวหน้า (Advanced Knowledge) เป็นความรู้ที่ทำให้องค์กรไปสู่จุดของการแข่งขันได้ เป็นความรู้ ที่มีความเฉพาะเจาะจงซึ่งแตกต่างจากคู่แข่งขัน  ความรู้เชิงนวัตกรรม (Innovative Knowledge) เป็นความรู้ที่จะทำให้องค์กรเป็นผู้นำทางการตลาดได้ Company Logo

  20. นิยามของการจัดการความรู้นิยามของการจัดการความรู้  การรวบรวมความรู้ ที่อยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวคน หรือเอกสารมาพัฒนาเป็นองค์ความรู้ และมีการถ่ายทอดและ แบ่งปันความรู้ อย่างเป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถ เข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ Company Logo

  21. เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้  พัฒนาคน คนที่มีความรู้  พัฒนางาน กระบวนการทำงาน ที่มีคุณภาพ  พัฒนาองค์กร องค์กรแห่งการเรียนรู้  พัฒนาสังคม สังคมความรู้ Company Logo

  22. ขอบข่ายของการจัดการความรู้ขอบข่ายของการจัดการความรู้ Company Logo

  23. พัฒนาการของการจัดการความรู้พัฒนาการของการจัดการความรู้  การจัดการความรู้ที่ถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  Best Practices (แนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ)  Lessons Learned (ประสบการณ์การเรียนรู้การทำงานที่ ผ่านมา)  เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของมนุษย์และมิติทางวัฒนธรรม  Tacit Knowledge (ความรู้โดยนัย - ที่อยู่ในตัว) Community of Practices (CoPs - ชุมชนนักปฏิบัติ)  เน้นความสำคัญของเนื้อหา  Content Management (การจัดการเนื้อหาสาระของความรู้) Taxonomy (การจัดหมวดหมู่ของความรู้)  Retrieval Ability (ความสามารถในการสืบค้นความรู้) Company Logo

  24. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้  การบ่งชี้ความรู้ / การกำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้  การสร้างและแสวงหาความรู้  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  การเข้าถึงความรู้  การแบ่งปันความรู้  การเรียนรู้ Company Logo

  25. 1. การกำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ / การบ่งชี้ความรู้  เป็นกระบวนการค้นหา หรือกำหนดว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้างอยู่ในรูปแบบใดและอยู่ที่ใคร  ประเด็นประกอบการพิจารณา  สอดคล้องกับประเด็นวิสัยทัศน์ / พันธกิจ และ ยุทธศาสตร์  เป็นความรู้ที่สำคัญและจำเป็นต่อกระบวนการทำงาน ขององค์กร  เป็นความรู้ที่สามารถนำมาใช้เพื่อการแก้ปัญหาการ ดำเนินงานขององค์กร Company Logo

  26. การกำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ (Knowledge Identification) ยุทธศาสตร์ของ องค์กรที่จำเป็นต้องทำ ความรู้ที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ขององค์กร Strategic gap Knowledge gap ความรู้ขององค์กร ที่มีอยู่จริง ขีดความสามารถของคนในองค์กรที่สามารถทำได้ Company Logo

  27. 2. การสร้างความรู้ (KnowledgeCreation - SECI) Tacit Tacit Tacit Explicit Tacit Explicit Explicit Explicit Company Logo

  28.  Socialization (ความรู้โดยนัย ความรู้โดยนัย) Brainstorming (การประชุมระดมสมอง) Informal meeting (การประชุมอย่างไม่เป็นทางการ) Discussions (การอภิปราย) Dialogues (การเสวนา) Observation (การสังเกต) On-the-job training (การฝึกอบรมโดยการทำงาน) Coaching (ผู้ฝึก / ผู้สอนงาน) Mentoring (พี่เลี้ยง) รูปแบบการสร้างความรู้ (1) Company Logo

  29.  Externalization (ความรู้โดยนัย ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน) Meeting (การประชุม) Workshops (การประชุมเชิงปฏิบัติการ) Best practice exchange (การแลกเปลี่ยนแนวทางการทำงาน ที่เป็นเลิศ) After-action reviews (AAR) (การทบทวนหลังการปฏิบัติ) Before-action reviews (BAR) (การทบทวนก่อนการปฏิบัติ) รูปแบบการสร้างความรู้ (2) Company Logo

  30.  Combination (ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน) Virtual Library (ห้องสมุดเสมือน) Publications (สิ่งพิมพ์)  Internalization (ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน ความรู้โดยนัย) Knowledge zone (มุมความรู้) Client / customer feedback review (การทบทวนข้อแนะนำของ ลูกค้า) รูปแบบการสร้างความรู้ (3) Company Logo

  31. 2. การแสวงหาความรู้ 1. การจัดหา (Acquisition)  การไปเรียนรู้หรือลอกเลียนมาจากองค์กรอื่น แล้วนำ ความรู้นั้นมาปรับใช้ภายในองค์กร  การเข้าไปซื้อหรือควบกิจการ  ว่าจ้างบุคลากรที่มีความรู้ที่ต้องการเข้ามาทำงานภายในองค์กร 2. การเช่า (Rental) หรือการเช่าความรู้  การให้ทุนสนับสนุนแก่สถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ที่ต้องการ การจ้างที่ปรึกษาเข้ามาให้คำปรึกษาในเรื่องที่ต้องการ 3. การพัฒนา (Development) เป็นการพัฒนาความรู้ขึ้นมาภายในองค์กรเองโดยอาจจะมีการลงทุนในด้านของการวิจัยและ พัฒนา 4. การหลอมรวมกัน (Fusion) เป็นการนำบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ที่แตกต่างกันเข้ามาประชุม หรือทำงาน ร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆ ขึ้น Company Logo

  32. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (1)  การจัดเก็บ (Storage) เป็นการกำหนดสิ่งสำคัญที่จะจัดเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ขององค์กร ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงวิธีการในการเก็บและการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ตามความต้องการ  ข้อคำนึงในการจัดเก็บ 1. โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหา และส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 2. จัดให้มีการจำแนกรายการต่างๆเช่น ข้อเท็จจริงนโยบายหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ 3. การจัดการที่สามารถส่งมอบให้กับผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน กระชับ ถูกต้อง ทันเวลา และเหมาะสมตามที่ต้องการ Company Logo

  33. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (2)  การค้นคืน (Retrieval) เป็นลักษณะของการเข้าถึงสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อนำมาประยุกต์ ใช้ในการปฏิบัติงานต่อไป องค์การควรทำให้พนักงานทราบถึง ช่องทางหรือวิธีการสำหรับการค้นหาความรู้ต่างๆทั้งในรูปแบบ ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ Company Logo

  34. ข้อมูลดิบ Expert Database Knowledge-based Utilization & Sharing User Case-based Web Browser Best-Practices Expert Administrator M-base 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ Verification Company Logo

  35. 5. การเข้าถึงความรู้  Knowledge Push เป็นการส่งมอบความรู้ไปยังผู้รับโดยผู้รับไม่ได้ร้องขอ หรือมีความต้องการ เป็นการส่งมอบในลักษณะ Supply-based  Knowledge Pull เป็นการส่งมอบความรู้ไปยังผู้รับตามความต้องการหรือตามความ สนใจ เป็นการส่งมอบในลักษณะ Demand-based Company Logo

  36.  ชุมชนการปฏิบัติ (Communities of Practice - COP) กลุ่มคนที่มีความสนใจร่วมกันมารวมกลุ่มกันอย่างไม่ เป็นทางการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแบ่งปันความรู้ และแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งก่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้ ขององค์กรหรือชุมชน 6. การแบ่งปันความรู้ Company Logo

  37. 7. การเรียนรู้ องค์ความรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรม อย่างต่อเนื่อง การนำความรู้ ไปใช้ เกิดการเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ใหม่ๆ วงจรการเรียนรู้ Company Logo

  38. III. การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน… และคุณภาพงาน Company Logo

  39. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร คน กระบวนการจัดการความรู้ องค์กร งาน Company Logo

  40. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน: ปัจเจกบุคคล มี (Have) ไม่มี (Don’t Have) รู้ (Know) ไม่รู้ (Don’t know) Company Logo

  41. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคนกับงาน(2)การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคนกับงาน(2) Company Logo

  42. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน (1)  กิจกรรม... การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน 1. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) 2. การวิเคราะห์ความผิดพลาดจากการทำงาน (Analyzing Mistakes) 3. การระดมสมองในการทำงาน (Brainstorming) 4. การพัฒนาระบบพี่เลี้ยง (Coaching / Mentoring) 5. การหมุนเวียนการทำงาน (Rotating jobs) 6. การพัฒนาการทำงานเชิงโครงการ (Project work) Company Logo

  43. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน (2) 7. การทำงานเป็นทีม (Team working) 8. การจัดทำแฟ้มผลงาน (Portfolios) 9. การทำสัญญาการเรียนรู้ (Learning Contracts) 10. การสร้างวิสัยทัศน์การเรียนรู้ (Visioning) 11. การมีที่ปรึกษาภายนอกองค์กร (External Consultants) 12. การสร้างเครือข่ายการทำงาน (Networking) Company Logo

  44. กิจกรรมการจัดการความรู้กิจกรรมการจัดการความรู้ Company Logo

  45. เครื่องมือทางการจัดการความรู้เครื่องมือทางการจัดการความรู้ Company Logo

  46. แผนปฏิบัติงานการจัดการความรู้แผนปฏิบัติงานการจัดการความรู้ 1. แผนสื่อสารการจัดการความรู้ทั่วทั้งองค์กร 2. แผนการสร้างความรู้ 3. แผนพัฒนาคลังความรู้ 4. แผนการถ่ายทอดความรู้ 5. แผนการพัฒนาเครือข่ายการแบ่งปันและแลกเปลี่ยน ความรู้ Click to add Title Company Logo

  47. แนวทางในการดำเนินงานการจัดการความรู้แนวทางในการดำเนินงานการจัดการความรู้ 1. แต่งตั้งคณะทำงาน หรือผู้รับผิดชอบโครงการ 2. ให้ความรู้เรื่อง “การจัดการความรู้” แก่ผู้บริหาร ผู้ที่เกี่ยวข้อง และบุคลากรในทุกระดับ 3. สื่อสารเรื่อง “การจัดการความรู้ของคณะฯ” ผ่านช่องทาง การสื่อสารต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 4. จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ 5. สร้างกระแสให้เกิดการใช้และการแบ่งปันความรู้ให้เกิดขึ้น ทั่วทั้งองค์กร 6. ประชาสัมพันธ์ ติดตามผล และรายงานกิจกรรมต่างๆ ให้ ผู้บริหารได้รับทราบ 7. มีการกำหนดเกณฑ์การให้รางวัลตามความเหมาะสม Click to add Title Company Logo

  48. ทุนมนุษย์ ผลลัพธ์ของ การจัดการ ความรู้ ทุนองค์กร ทุนทางสังคม ทรัพย์สินความรู้ ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดการความรู้ Company Logo

  49. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการจัดการความรู้ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการจัดการความรู้ 1. ผู้นำทุกระดับเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2. มีแผนการจัดการความรู้ที่ชัดเจน ทุกคนสามารถรับรู้และเข้าใจถึงเป้าหมายได้ตรงกัน 3. มีการนำแผนไปปฏิบัติในทุกระดับของหน่วยงาน 4. ทำให้แผนการจัดการความรู้ฝังอยู่ในเนื้องานประจำ 5. ความมุ่งมั่นต่อความสำเร็จของการจัดการความรู้ทุกระดับ 6. มีการสื่อสารความรู้ในบรรยากาศที่เป็นมิตร เปิดเผย โปร่งใส และไว้วางใจ ซึ่งกันและกัน 7. มีการติดตามและประเมินผลการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 8. การมีทีมการจัดการความรู้ที่เข้มแข็ง Company Logo

  50. สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต: Management of People การพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการส่งเสริม ป้องกันโครงการเด็กด้อยโอกาส ทบทวนองค์ความรู้ ประชุมพิจารณากำหนดกรอบความคิด เขียนเนื้อหา ทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไข ทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ หรือการนำไปใช้ การมีทีมงานที่ดี (มีการยอมรับซึ่งกันและกัน) ตัวอย่าง ... เรื่องเล่า 1 Company Logo

More Related