1 / 75

IPV6

IPV6. IPv6 Packet Format. Supernetting & Classless Inter-Domain Routing. IPv4 แบ่ง network เป็น subnetwork ย่อยๆ การกำหนด netmask .. ลักษณะของ supernetting ก็เหมือนกัน

turi
Download Presentation

IPV6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. IPV6

  2. IPv6 Packet Format

  3. Supernetting & Classless Inter-Domain Routing • IPv4 แบ่ง network เป็น subnetwork ย่อยๆ • การกำหนด netmask .. ลักษณะของ supernetting ก็เหมือนกัน • mask ด้วยค่าที่น้อยกว่า 24 ซึ่งเป็นขนาดของ class C network ..เช่น กำหนดเป็น mask 22 ก็จะได้เป็น network ขนาดเท่ากับ class C network 4 วง (1024 IP addresses) เป็นต้น • กำหนดให้ network มีขนาดเป็นจำนวน 256x(2^n), เช่น 512, 1024, 2048, 4096, and so on..ซึ่งจะปรับเข้ากับขนาดขององค์กรได้ดีกว่า • จะเขียน network IP ตามท้ายด้วย /mask เสมอ เช่น 202.28.93.0/24 หมายความว่าเป็น block ที่เริ่มที่ 202.28.93.0 และมี netmask = 24 bits • ลด routing information ได้ด้วย เช่น UniNet ม.ข. มี 4 class C คือ 202.28.92.0/24 - 202.28.95.0/24 ซึ่งเป็น block ติดกัน .. router สามารถเก็บ routing information เป็น 202.28.92.0/22 เพียง entry เดียว แทนที่จะแยกเก็บ 4 entries • การจัดสรร IP ให้ดีๆ จะสามารถลดจำนวน routing information ได้ ช่วยให้ลดเวลาในการ lookup และส่งผลให้ routing ทำงานได้เร็วขึ้นด้วย

  4. Backbone ในอดีต: National Science Foundation Network Backbone ของอินเทอร์เน็ตอาจจะพอกล่าวได้ว่าเริ่มต้นมาจากเครือข่าย NSFNET ปี 1987 รัฐบาลสหรัฐเริ่มเห็นแนวโน้มว่าการสื่อสารข้อมูลมีความสำคัญมากขึ้น National Science Foundation ก็เลยสร้างเครือข่ายที่เรียกว่า NSFNET - National Science Foundation Network เพื่อเชื่อมต่อ supercomputer sites 6 แห่งเข้าด้วยกัน ได้แก่ • The San Diego Supercomputer Center (SDSC) • National Center for Atmospheric Research (NCAR) • National Center for Supercomputing Applications (NCSA) • Cornell National Supercomputing Facility (CNSF) • Pittsburgh Supercomputing Center (PSC) • Jon Von Neumann Center (JVNC)

  5. ปัจจุบัน

  6. อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคู่สายเช่าความเร็วสูงอุปกรณ์ที่จำเป็นในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคู่สายเช่าความเร็วสูง • เครื่องคอมพิวเตอร์ • คู่สายเช่า (Leased Line) • Network Equipment อาทิเช่น Router • Hardware : Web Server, Mail Server • Software ต่างๆ เช่น โปรมแกรม (Browser), โปรแกรมรับส่งจดหมายอิเลคทรอนิคส์ (E-mail)

  7. Internet2

  8. Abilene : The Internet2 Backbone • Internet2 มีโครงสร้างพื้นฐานเป็นเครือข่ายความเร็วสูงขนาดใหญ่ เพื่อจำลองสภาพของ Internet ในอนาคตเครือข่ายนี้จะเป็นพื้นที่ๆ ใช้ทดสอบ applications, protocols, และ services ต่างๆ ที่สมาชิกของ Internet2 ได้คิดขึ้นมา • ปัจจุบันเครือข่าย Internet2 ให้บริการโดย Abilene ซึ่งเป็นเครือข่ายที่พัฒนาให้ใช้งานสำหรับ Internet2 โดยเฉพาะ.. • เครือข่าย Abilene นี้พัฒนาโดย Cisco, Nortel, และ Qwest ประกอบด้วยโครงข่ายของ optical fiber มี core network ทำงานที่ OC-48 (2.4 Gbps) และ OC-12 (622 Mbps) ซึ่งเชื่อมจุดให้บริการที่เรียกว่า GigaPoPs (Gigabits Point-of-Presents) ของแต่ละพื้นที่เข้าด้วยกัน..เนื่องจากเครือข่ายเป็น optical fiber ที่ใช้ protocol SONET

  9. protocol ที่ใช้รองรับการทำงานของ IP บน Abilene ก็คือ IP-over-SONET • เครือข่ายที่เป็น core นี้สนับสนุนโดย Qwest • ส่วน Cisco และ Nortel จะสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ โดยแต่ละ GigaPoPs จะใช้ router Cisco 12008 • มหาวิทยาลัยในแต่ละพื้นที่จะเชื่อมเครือข่ายของตนเองเข้ากับ GigaPoPs ที่อยู่ใกล้ที่สุดได้โดยตรง หรือผ่านทาง regional networks (เช่น ISPs, NSPs) โดยใช้ protocol IP-over-SONET หรือ IP-over-ATM มีอัตรารับส่งข้อมูลเป็น OC-12, OC-3 หรือ DS-3

  10. Internet2 มี requirement สำหรับมหาวิทยาลัยที่เชื่อมต่ออยู่ว่า endpoints ที่ PC จะต้องมีอัตรารับส่งข้อมูลอย่างต่ำสุด 100 Mbps • Abilene กำลังพัฒนาให้ backbone มีอัตราการรับส่งข้อมูลเป็น OC-192 (9.6 Gbps) และจะพัฒนาให้สูงขึ้นไปอีกในอนาคต • Internet2 ไม่ได้บังคับว่ามหาวิทยาลัยในโครงการต้องเชื่อมต่อเข้ากับ Abilene เพราะมีหลายๆ มหาวิทยาลัยเชื่อมกับ vBNS ซึ่งเป็น backbone ของ Internet อยู่ก่อนแล้ว • Internet2 เชื่อม Abilene กับ vBNS เข้าด้วยกัน อย่างใรก็ตาม การทดสอบต่างๆ ยังคงทำบนเครือข่ายของ Abilene เป็นหลัก เพราะ Abilene ได้รับเงินสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยใน Internet2 จึงใช้ในการศึกษาวิจัยได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่ vBNS จะให้บริการเชิงธุรกิจด้วย .

  11. Engineering • งานทางด้านวิศวกรรมเครือข่ายเป็นหลักเกี่ยวข้องกับ protocol ในระดับของเครือข่าย สำหรับ Internet2 ได้แบ่งงานทางวิศวกรรมออกเป็น 7 กลุ่มดังนี้ครับ • IPv6 Working Group เป็นกลุ่มที่ทำงานเกี่ยวกับ IPv6 โดยตรง เพื่อดูว่า IPv6 จะสามารถรองรับการทำงานของ Internet2 ได้อย่างไรบ้าง • Measurement Working Group จะทำการตรวจวัดและเผยแพร่ผลการตรวจวัดการทำงานของเครือข่าย Abilene/Internet2 รวมถึงการออกแบบเครื่องมือตรวจวัดค่าต่างๆ ในเครือข่าย • Multicast Working Group วางโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการทำ multicasting ตั้งแต่ระดับ backbone, gigaPoPs, จนถึง members ในเครือข่าย • Quality of Service Working Group เน้นการสนับสนุนการให้บริการ QoS โดยใช้ Differentiated Services (DiffServ) ปัจจุบัน Internet2 มีเครือข่ายที่รองรับการทำงานของ QoS แล้ว เรียกว่า QBone • Routing Working Group รับผิดชอบการออกแบบและดูผลกระทบของการทำ routing แบบต่างๆ ในเครือข่าย Internet2 • Security Working Group ศึกษาเทคโนโลยีทางด้าน network security เผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชิก Internet2 และให้คำปรึกษาในการตัดสินใจในเรื่องของ Security • Topology Working Group เน้นการศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่าย Internet2, gigaPoPs, Campus Networks, Exchange Points ต่างๆ เพื่อจะได้มั่นใจว่าสามารถรองรับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  12. iPSTAR เป็นบริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านทางช่องสัญญาณดาวเทียมแบบสองทาง (Two-ways Broadband Internet) ซึ่งมีการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา (Always on) ทั้งนี้ในส่วนของชุดอุปกรณ์ Terminal ได้ถูกออกเแบบมาพิเศษ ให้สามารถใช้งานได้กับดาวเทียมหลายประเภท ทั้งนี้ไม่ได้ผูกติดว่าจะต้องนำมาใช้งานกับดาวเทียม iPSTAR เท่านั้น • ด้วยคุณสมบัติของเทคโนโลยีดาวเทียม จะทำให้บริการ iPSTAR สามารถเปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) ได้ทั่วประเทศ สามารถติดตั้งได้รวดเร็ว และสะดวกในการใช้งาน

  13. ข้อดีของการใช้ iPSTAR • ไม่มีข้อจำกัดด้านพื้นที่ เนื่องจาก iPSTAR สามารถให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงได้ทั้งในย่านธุรกิจ ชุมชนเมือง หรือแม้เต่พื้นที่ห่างไกลที่สายโทรศัพท์เข้าไม่ถึง ในขณะที่อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงระบบอื่นๆ เช่น ADSL และ Cable Modem สามารถให้บริการได้เฉพาะพื้นที่เล็กๆ ในย่านธุรกิจสำคัญของกรุงเทพฯ เท่านั้น • จานรับสัญญาณที่ใช้ ในการรับ-ส่งสัญญาณมีขนาดเล็กกระทัดรัด ช่วยประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง โดยไม่จำเป็นต้องใช้สายโทรศัพท์ • มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบตลอดเวลา (Always on) โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องต่อสายโทรศัพท์ทุกครั้งเมื่อต้องการใช้อินเตอร์เน็ต

  14. ไอพีสตาร์เกตเวย์ ระบบภาคพื้นดินของไอพีสตาร์ประกอบด้วย • อุปกรณ์ปลายทาง • เกตเวย์ และ • เครือข่าย • เกตเวย์ ของ บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ได้กำหนดสถานที่ตั้งเกตเวย์ของไอพีสตาร์ ภายในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จำนวน 18 แห่ง

  15. องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของ Grid computing คือซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการระบบ คอยส่งข้อมูลไปประมวลผลยัง node ต่างๆ หรือรับข้อมูลจาก node อื่นมาประมวลผล รวมถึง monitor การทำงานของระบบ ซอฟต์แวร์ที่ว่านี่จะแทรกอยู่ระหว่าง OS และ ตัว application ก็เลยเรียกกันว่าเป็น 'Middleware' • Middleware ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ 'Globus' พัฒนาโดยกลุ่มของ Ian Foster ที่ Argonne National Laboratory ร่วมกับทีมของ Carl Kesselman แห่ง University of Southern California • middleware ที่รู้จักกันดีก็คือ CORBA และ Java RMI นั่นเอง ข้อดีของ middleware ก็คึอลดความซับซ้อนในการสร้าง applications เราสามารถเขียน applications ที่เรียกใช้งาน remote method ได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงการติดต่อผ่านเครือข่าย ไม่จำเป็นต้องรู้ว่าจะเรียกใช้ method เหล่านั้นได้ที่ไหน ดังนั้นการพัฒนา application จึงเป็นไปได้ง่าย รวดเร็ว และลดข้อผิดพลาดไปได้มาก • Globus ประกอบด้วยโปรแกรมหลายๆ โปรแกรม เช่น GRAM (Globus Resource Allocation Manager) ทำหน้าที่จัดการ resource, และ GSI (Grid Security Infrastructure) ทำหน้าที่ด้าน authentication และ access control

  16. ที่น่าสนใจอย่างหนึ่งของ Globus คือ tools หรือโปรแกรมสามารถเขียนเพิ่มเติมแล้วเอามาประกอบกับ Globus ในภายหลังได้เหมือน plug-ins และที่ดีสุดๆ คือ Globus พัฒนาภายใต้ Open Source จึงใช้งานได้ฟรี ผู้ใช้และสามารถพัฒนาซอฟต์แวร์เพิ่มเติมได้ตามที่ต้องการ • นอกเหนือไปจาก Globus แล้วก็ยังมีโครงการคล้ายๆ กันอีกเช่น "World Virtual Computer" ของ University of Virginia และโครงการ 'Milan' (Metacomputing in Large Asynchronous Network) ซึ่งเป็นโครงการร่วมระหว่างนักวิจัยใน New York University และ Arizona State University เพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือนบนระบบที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับเครือข่ายอยู่ตลอดเวลา ทางฝั่ง commercial ก็ตามจี้ Globus เหมือนกันอย่าง Java Platform ของ Sun หรือ DCOM ของ Microsoft ก็มีอะไรหลายๆ อย่างคล้ายกับ Grid computing แม้แต่ .NET ก็ดูว่ามีบางส่วนที่เหมือนกับ Grid .. ว่ากันว่า Microsoft เอา functions บางอย่างของ Grid เข้าไปใส่ใน Windows XP แล้วด้วย - -'''

  17. Thai Grid Drug Design • เป็นส่วนหนึ่งของโครงการคัดสรรสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพด้วยระบบกริด • การที่เราเอากริดคอมพิวติ้งมาคำนวณหาสารที่สามารถออกฤทธิ์เป็นยาได้จากฐานข้อมูลสารจำนวน 3,000 ชนิด • หากใช้คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ความเร็วซีพียู 2.4 กิกกะเฮิรตซ์คำนวณ อาจจะต้องใช้เวลาคำนวณและวิเคราะห์อย่างน้อย 2 ปีจึงจะทำเสร็จ • เมื่อนำความสามารถของกริดเน็ตเวิร์คในเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรซึ่งคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงรวมกันหลายเครื่องนำมาคำนวณงานที่ต้องทำถึงสองปีกลับกลายเป็นเสร็จในสองเดือน • ความสำคัญของงานนี้ไม่ใช่แค่การหาสารมาทำยา แต่เป็นการทดสอบเพื่อพิสูจน์หาสารจากสมุนไพรไทยที่มีคุณค่ามหาศาลแต่ปล่อยให้ต่างประเทศหยิบฉวยและใช้ความได้เปรียบทางเทคโนโลยีอ้างความเป็นเจ้าของสารนั้นไป หากเราสามารถพิสูจน์และประกาศรับรองสมุนไพรไทยได้ก่อนก็จะปกป้องและรักษาสมบัติเหล่านั้นไม่ให้ถูกต่างประเทศนำเอาไปเป็นของตัวเองแล้วกลับเข้ามาขายคนไทยด้วยราคาแพง ๆ ยังมีสารอีกกว่า 50,000 ชนิด ที่รอการทดสอบถ้าเราคำนวณด้วยวิธีธรรมดาอีก 10 ปีเราก็ไม่สามารถปกป้องคุณค่าของพืชไทยได้ นี่คือประโยชน์ของกริด

  18. Wi-Fi standards http://www.intel.com/netcomms/technologies/wimax/304471.pdf

  19. 802.11 mesh networking

  20. WiMAX network topology

  21. 2004-2005 WiMAX and Wi-Fi metro-access solution features.

  22. WiMAX as an intra-mesh backhaul option

  23. WiMAX as a client connection option.

  24. WiMAX backhaul for a Wi-Fi mesh topology

  25. Wi-Fi & WiMax on a Single Chip

  26. ISDN Integrated Services Digital Network (ISDN), is a system of digital phone connections which has been available for over a decade. This system allows voice and data to be transmitted simultaneously across the world using end-to-end digital connectivity. Internet connection over your standard phone line

  27. http://public.swbell.net/ISDN/connect.html#switch

  28. Types Of Equipment ISDN requires different equipment than analog dial-up or even digital leased line service. To connect to the Internet, your equipment should include: • Network Termination Device 1 (NT1) The NT1 is a simple device that serves as an interface between the ISDN BRI line and your other ISDN equipment. The wiring interface needed by your ISDN equipment, and also provides a testing point for troubleshooting. Many ISDN terminal adapters and some ISDN routers have the NT1 function built-in. This makes for an easier installation and also reduces the total cost of your ISDN setup. However, a separate NT1 is more flexible in that it can support multiple ISDN devices.

  29. Power Supply • The power supply plugs into a standard wall outlet and provides power to the ISDN line. • The customers consider keeping their analog phone service as insurance for use during emergency power outages. • ISDN Routers • These devices perform a function similar to that of a standard router. Using an ISDN router, multiple computers on a LAN can share a single ISDN BRI connection. • Because ISDN routers use Ethernet connections (typically 10 Mbps), they can take full advantage of ISDN's speed. • Many of the most popular ISDN routers also support analog voice, modem, or fax applications, as well as sophisticated network management capabilities. • ISDN routers are typically more than twice as expensive as TAs, but they are often worth the money since they allow multiple computers on a small LAN to leverage your ISDN investment.

  30. Physical Interfaces The ISDN standard defines several physical wiring interfaces, but most users only need to be familiar with one or two. U-Interface The U-interface is the 2-wire interface your phone company delivers for connection to the NT1. Many of the newer ISDN networking devices, such as the 3Com Impact, include a built-in internal NT-1 and power supply, so they can connect directly to the U-interface. Manufacturers may describe this feature as a "built-in NT-1" or simply as a U-Interface ISDN TA.

  31. S/T Interface The S/T-interface is the 4-wire interface between the NT1 and the ISDN networking equipment such as an ISDN TA or router. An S/T interface is used when the NT1 is a separate device. • Other interfaces The interface between your ISDN networking equipment and your computer is usually one of the standard industry interfaces. For example, an External TA will use the computer's serial COM port such as RS232. ISDN routers will use a standard Ethernet connection, either directly to a computer's NIC card or via an intermediary Ethernet hub.

  32. Configuring your ISDN Line and Equipment • The following information to program your ISDN equipment. Make sure that you receive this information when you order your ISDN line. Switch Type The "engines" of the ISDN phone network are the complex network switches which deliver the service. There are two dominant switches that provide ISDN: Lucent Technology's (formerly a part of AT&T) 5ESS and Northern Telecom's DMS100. While those two switches provide the same basic features and functionality, they differ in how they interact with ISDN equipment. The DMS100 will also vary according to which software version is being used. It is important that switch type and which software version will be providing with ISDN service, so to order ISDN service and set your ISDN networking equipment parameters correctly.

  33. ISDN Phone Number (Directory Number) Your ISDN phone line will be assigned a phone number just like a standard phone line. However, depending on which kind of switch you are served from and how you are going to use the ISDN service, you may get one phone number per ISDN line or one phone number for each ISDN B-channel. It is important for you to define how you plann to use your ISDN line so Southwestern Bell can assign the correct number of phone numbers. • DMS100A DMS switch always assumes a multipoint configuration. If you are served from a DMS-100 switch, you should receive two phone numbers, one for each B-channel. • 5ESSIf you receive your ISDN service from a 5ESS switch, you need to choose either a "point-to-point" or "multipoint" configuration. If you only intend to connect a single device/application to your ISDN line, then you only need the point-to-point configuration. With the point-to-point configuration you are assigned a single phone number per ISDN line (not one for each B-channel). If you intend to connect multiple devices/applications, then you need the multipoint configuration. With multipoint configuration you are assigned a phone number for each device connected.

  34. Service Profile Identifier (SPID) • A SPID is an additional identifier used to identify the ISDN device to the telephone network. A SPID looks like a telephone number with extra digits. However, depending on which kind of switch you are served from and how you are going to use the ISDN service, you may not need a SPID or you may need a SPID for each B-channel, or each device. It is important for you to define how you plan to use your ISDN line so Southwestern Bell can assign the correct number of SPIDs. • DMS100A DMS switch always assumes a multipoint configuration. If you are served from a DMS-100 switch, you should receive two SPIDs, one for each B-channel.

  35. 5ESS • If you receive your ISDN service from a 5ESS switch, you need to choose either a "point-to-point" or "multipoint" configuration. • If you only intend to connect a single device/application (such as the 3COM Impact) to your ISDN line, then you only need the point-to-point configuration and you are not assigned any SPIDs. • If you intend to connect multiple devices/applications, then you need the multipoint configuration. For example, connecting the 3COM Impact's analog port to an analog phone would be a multipoint configuration. With the multipoint configuration you are assigned a SPID for each device connected. • Terminal Identifier (TID) • Specific to a National ISDN-1 BRI line from a DMS100 switch, is the need for a terminal identifier (TID). • The TID is comprised of two additional digits used in conjunction with the SPID when initializing devices. • The TID is intended for use on all non-initializing terminals. All terminals in use today are initializing terminals, and most do not require a specific TID. • To minimize confusion, it is recommended that you use "00" on each terminal device, no matter how many terminal devices there are. For further clarification, you should check with your ISDN equipment vendor for their recommendation.

  36. Wiring your Location for ISDN • Inside Wiring • By regulation, Southwestern Bell ISDN service ends at what is called the demarcation point ("demarc") usually just outside your residence or in an apartment building basement. You are responsible for the wiring from the demarcation point to your ISDN equipment including the wall jacks. You will want your ISDN phone jacks close to your ISDN equipment for the best performance. You can choose to have Southwestern Bell install and maintain this "inside wiring" for an additional charge, or you can use an electrical contractor. • While some homes and offices may need to be re-wired for ISDN, most will not. The copper twisted pair wiring that currently provides standard analog phone service can be successfully used for ISDN. However, with the increasingly popularity of multiple lines you may not have spare wiring available for your ISDN service. Therefore, additional cabling may be necessary.

  37. สิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการสิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการ • 1. ISDN Moderm           • 2. ISDN 1 คู่สาย           • 3. ISDN Router หรือ Computer เพื่อทำเป็น Proxy Server

  38. Corporate ADSL (Asymetric Digital Subscritber Line)          บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงใหม่ล่าสุดจาก ANET INTERNET ที่คุณสามารถใช้สายโทรศัพท์ได้ตามปกติพร้อมกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านสายความเร็วสูง ทั้งนี้ สาย ADSL ใช้คลื่นความถึ่ที่เหนือกว่า bandwidth ของโทรศัพท์ทั่วไปในการส่งผ่านข้อมูลและสามารถปรับระดับความเร็วขึ้นลงได้ในอัตราสูงสุดถึง 8 Mbps.

  39. ประโยชน์ของ ADSL - ไม่สะดุดตลอดการใช้งาน - ไม่พบปัญหาสายหลุดบ่อยเหมือน modem ปกติ      - ด้วยเทคโนโลยี ADSLผู้ใช้เพียง click browser ก็สามารถ เชื่อมต่อเข้ากับโลกอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องหมุนเลขหมาย      - ให้ความเร็วสูงตั้งแต่ 64 Kbps. ถึง 8 Mbps.      - รองรับ Application ที่ต้องการ Bandwidth สูงโดยเฉพาะ เทคโนโลยีด้าน Multimedia, VDO Conference      - ถูกออกแบบให้สามารถใช้บนเครือข่ายโทรศัพท์เดิมได้โดยไม่ ส่งผลกระทบใดๆ สามารถปรับระดับความเร็วของการรับส่งข้อมูล ได้ตามสภาพของคู่สายโทรศัพท์ สามารถ ใช้โทรศัพท์ได้แม้ว่า จะใช้งานอินเทอร์เน็ตอยู่ก็ตาม     - ไม่จำกัดชั่วโมงการใช้งานและปริมาณการรับส่งข้อมูล

  40. สิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการสิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการ • 1. ADSL Line จากผู้ให้บริการ          • 2. ADSL Moderm สำหรับ Individual และ ADSL Router สำหรับ SME User และCorporate User           • 3. Internet Server (option สำหรับ Corporate User)          • 4. Software (option สำหรับ Corporate User) 

  41. http://www.anet.net.th/Pro_individual.asp

  42. Proxy Server • ด้วยรูปแบบข้างต้น ระบบของท่านจะต้องทำการติดตั้ง Proxy Serverเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อไปยัง Internet โดย Webpage ต่างๆ ที่ถูกเรียกขึ้นมาใช้จะถูกเก็บไว้ใน Proxy Server และเมื่อ User มีการเรียกใช้ Webpage นั้น Webpageดังกล่าวจะปรากฏขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาถึงข้อมูลจาก Internet มาใหม่

  43. Mail Server • การมี mail server ภายในองค์กรเอง เพื่อความคล่องตัวในการจัดการกับ mailbox ของผู้ใช้แต่ละคน โดยสามารถเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ e-mailภายในองค์กรของท่าน และเนื่องจากระบบท่านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา การรับส่ง mail จึงสามารถทำได้ทันที 

  44. DNS Server • สำหรับดูแลอินเทอร์เน็ตโดเมนขององค์กร และให้บริการแก่ผู้ใช้ภายในองค์กร

More Related