80 likes | 210 Views
โครงงานสายสัมพันธ์แห่งชีวิต. นางสาวเบญจพร ร่ำรวย นายบรรเทา เข้มข้น นางสาวรายาวดี ชีพาลัย ชั้นประถมปีที่ 6/3. เราเรียนรู้อะไรจากการเป็นนักสัตววิทยารุ่นเยาว์. ความหมายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ การสร้างและรักษาความสมดุล. ความหมายของระบบนิเวศ.
E N D
โครงงานสายสัมพันธ์แห่งชีวิตโครงงานสายสัมพันธ์แห่งชีวิต นางสาวเบญจพร ร่ำรวย นายบรรเทา เข้มข้น นางสาวรายาวดี ชีพาลัย ชั้นประถมปีที่ 6/3
เราเรียนรู้อะไรจากการเป็นนักสัตววิทยารุ่นเยาว์เราเรียนรู้อะไรจากการเป็นนักสัตววิทยารุ่นเยาว์ • ความหมายของระบบนิเวศ • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ • การสร้างและรักษาความสมดุล
ความหมายของระบบนิเวศ • ระบบนิเวศนั้นเป็นแนวคิด (concept) ที่นักนิเวศวิทยาได้นำมาใช้ในการมองโลกส่วนย่อย ๆ ของโลกเพื่อที่จะได้เข้าใจความเป็นไปบนโลกนี้ได้ดีขึ้น • ระบบนิเวศ (Ecosystem) เป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่
สิ่งมีชีวิตสัมพันธ์กับระบบนิเวศอย่างไรสิ่งมีชีวิตสัมพันธ์กับระบบนิเวศอย่างไร • แสงสว่าง พืชต้องการแสงอาทิตย์เพื่อสร้างคอโรฟิลด์ • แร่ธาตุที่สำคัญ เช่น ออกซิเจน, ไนโตรเจน, คาร์บอน, ฟอสฟอรัส • อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตคือ 10-30องศา • ความชื้นมีผลต่อการระเหยของสิ่งมีชีวิตทำให้สิ่งมีชีวิตกระจายตามเขตอากาศที่แตกต่างกัน
ระบบนิเวศสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอย่างไรระบบนิเวศสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอย่างไร ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ นั้น ประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว พืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ ก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป
เราค้นพบอะไร?? ในฐานะนักสัตววิทยา เราสังเกตสระน้ำแห่งหนึ่งพบว่า สัตว์และพืชนานาชนิด สามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ
สัมพันธ์กันอย่างไร แต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมาและระเหยไปอยู่ตลอดเวลา น้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระ ขณะเดียวกันตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ แต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ การไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำมีความสมดุลโดยธรรมชาติ
ที่มาของข้อมูล • http://202.143.128.195/kanngan/site_students/webkingpaka/contents/Relation1.htm • http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b2.htm • http://www.globe.gov/globe_flash.html • http://www.qsbg.org/index48.asp • หนังสือเรียนวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตป. 5