480 likes | 1.13k Views
การศึกษาในศตวรรษที่ 21. โดย...ประจักษ์ ศรสาลี *. กศ.บ. (คณิตศาสตร์) กศ. ม. (การบริหารการศึกษา). Ph.D . (ยุทธศาสตร์การบริหารและการพัฒนา. การเมือง. สังคม. ศตวรรษ ที่ ๒๑ สังคมโลกา ภิวัตน์. เทคโนโลยี. เศรษฐกิจ.
E N D
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดย...ประจักษ์ ศรสาลี* กศ.บ. (คณิตศาสตร์) กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) Ph.D. (ยุทธศาสตร์การบริหารและการพัฒนา
การเมือง สังคม ศตวรรษที่ ๒๑สังคมโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงโลกในศตวรรษที่ ๒๑ มีผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนอย่างรุนแรง ประเทศด้อยพัฒนาหลายๆผลิตชิ้นส่วนไม่สำคัญ...มีมลภาวะ/สิ่งแวดล้อม บริษัทแม่ผลิตชิ้นส่วนสำคัญบริษัทแม่ส่งไปขายทั่วโลก...
การเปลี่ยนแปลงโลกในศตวรรษที่ ๒๑ มีผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนอย่างรุนแรง เกิดบริษัทข้ามชาติ ทุนข้ามชาติ ที่เข้าไปเสาะแสวงหาผลกำไรอย่างไร้พรมแดนในดินแดนต่าง ๆ ทั่วโลก แล้วกำไรเหล่านั้น จะถูกส่งไปพัฒนาหรือถูกส่งไปยังบริษัทใหญ่ในประเทศแม่
การเปลี่ยนแปลงโลกในศตวรรษที่ ๒๑ มีผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนอย่างรุนแรง เด็กตีกัน เด็กติดเกม
การเปลี่ยนแปลงโลกในศตวรรษที่ ๒๑ มีผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนอย่างรุนแรง อาชญากรรม ติดยาเสพย์ติด
Partnership for 21stCentury Skillsหรือเรียกย่อ ๆ ว่า เครือข่าย P21 ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน)การเขียน (Writing) คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C ได้แก่ Critical Thinking : การคิดวิเคราะห์, Communication : การสื่อสาร Collaboration: การร่วมมือ และ Creativity : ความคิดสร้างสรรค์
6 มาตรการ กระบวนการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู้สู่คุณภาพสากล โดยใช้กลยุทธ์หนึ่งนักเรียนหนึ่งความรู้ โดย...ประจักษ์ ศรสาลี* กศ.บ. (คณิตศาสตร์) กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) Ph.D. (ยุทธศาสตร์การบริหารและการพัฒนา
6 มาตรการ มาตรการที่ 1 ศึกษาความต้องการของสังคมท้องถิ่น มาตรการที่ 2 จัดหารวบรวมสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง มาตรการที่ 4 พัฒนาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาตรการที่ 5 จัดการเรียนรู้ มาตรการที่ 6 นำเสนอผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาประจำปี
มาตรการที่ 1 ศึกษาความต้องการของสังคมท้องถิ่น ผลการศึกษาความต้องการในการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 10 ลำดับแรก หัวข้อเรื่องที่นักเรียนควรได้ศึกษาเรียนรู้ 1. การประกอบอาชีพ 2. การทำอาหาร 3. การมีสุขภาพที่ดี 4. การทำเกษตร 5. การท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญ 6. วิถีชีวิตของคนอาเซียน 7. ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น 8. อุตสาหกรรมเมืองกำแพงเพชร 9. น้ำมันและพลังงาน 10. การประกอบธุรกิจและการจัดการ
มาตรการที่ 1 ศึกษาความต้องการของสังคมท้องถิ่น ผลการศึกษาความต้องการในการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 10 ลำดับแรก เรื่องที่นักเรียนควรได้ศึกษาเรียนรู้ 1. การใช้อินเตอร์เน็ต 2. การปลูกผักปลอดสารพิษ 3. การทำเกษตรตามทฤษฏีใหม่ 4. ประวัติเมืองกำแพงเพชร 5. การทำนา 6. การทำสวนกล้วยไข่ 7. อุทยานประวัติศาสตร์เมืองกำแพงเพชร 8. การปลูกพืชสมุนไพร 9. กรุพระเครื่อง 10. การแก้ปัญหาการทำลายหน้าดิน (หมอดิน)
มาตรการที่ 1 ศึกษาความต้องการของสังคมท้องถิ่น ผลการศึกษาความต้องการในการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 10. ลำดับแรก ของคุณลักษณะที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนานักเรียน 1. นิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง 2. วิถีชีวิตประชาธิปไตย 3. การทำงานเป็นและความรับผิดชอบต่องาน 4. การทำงานร่วมกับผู้อื่น 5. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร 6. ทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์หรือสร้างความรู้ 7. ทักษะการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร 8. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในการเรียนรู้ 9. ทักษะในการแก้ปัญหาของตนเองและสังคม 10. ทักษะในการสร้างสิ่งใหม่ ๆ และนวัตกรรม
มาตรการที่ 2 จัดหารวบรวมสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ ความต้องการของท้องถิ่น ปีการศึกษา 2556 (6 เรื่อง) 1. การประกอบอาชีพ 2. การทำอาหาร 3. การมีสุขภาพที่ดี 4. การทำเกษตร 5. การท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญ 6. วิถีชีวิตของคนอาเซียน
มาตรการที่ 2 จัดหารวบรวมสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้
มาตรการที่ 2 จัดหารวบรวมสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา) 1. ให้ความรู้ ความเข้าใจ -การสร้างสื่อที่มีคุณภาพ -กระบวนการวิจัยสื่อ 2. เป็นที่ปรึกษา/ ผู้เชี่ยวชาญวิจัย 3. เทคนิค Coaching and Mentoring 4. เข้าร่วม PLC “การจัดการเรียนรู้มาตรฐานสากล รายวิชา “การศึกษาเพื่อเรียนรู้”
มาตรการที่ 2 จัดหารวบรวมสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดกำแพงเพชร (กศน.) ศูนย์สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา (SEP) สพป.กำแพงเพชร เขต 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (เครือข่าย eDLTV)
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. ใช้แนวทางการพัฒนาหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับ ร.ร.มาตรฐานสากล Independent Study : IS 2. ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 3. ใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoringครูผู้สอนทำหน้าที่ Coacherและจัดเพิ่มครูที่ปรึกษาการทำ IS
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. รักการอ่าน มีความใฝ่รู้และใฝ่เรียนรู้ 2. ใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และสร้างความรู้ด้วยตนเอง 4. ทำงานเป็นและสร้างเอกสารความรู้ของตนเอง 5. สื่อสารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ป.4 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “อาหารไทย” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ป.5 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “การทำเกษตร” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ป.6 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “สุขภาพ” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ม.1 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “อาชีพท้องถิ่น” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ม.2 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “ท่องเที่ยว” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 3 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวอย่างหลักสูตร “การศึกษาเพื่อเรียนรู้” นักเรียนชั้น ม. 3 สร้างผลงานความรู้เกี่ยวกับ “ASEAN” โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และหรือมีทักษะสร้างสรรค์ความรู้ ภูมิปัญญา อย่างน้อยปีละ 1 รายการ สร้างและนำเสนอผลงานความรู้ในรูปแบบเอกสารความรู้ เช่น Big book, Small Book ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มาตรการที่ 4 พัฒนาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ใช้หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สอดคล้องหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ เน้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เป็นการประเมินผลที่ต้องใช้วิธีการ เครื่องมือที่หลากหลายและใช้เกณฑ์(Rubric) ในการประเมินผลงานนักเรียน
มาตรการที่ 4 พัฒนาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรโรงเรียน - เอกสารบันทึกผลการเรียน ปพ.5 รายวิชาเพิ่มเติม - มีการกำหนดสัดส่วนคะแนน(ระหว่างเรียน-สอบต่าง ๆ) - มีการตัดสินผลการเรียน
Wisdom Knowledge Information Data มาตรการที่ 5 การจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นิรมิตนิยม(Constructivism)
Globalization Data Information Knowledge Wisdom ท้องถิ่น ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ภูมิปัญญา นำเสนอสู่สังคม พัฒนาหรือแก้ปัญหา สู่ภูมิปัญญาของตนเอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปเป็นความรู้ของตนเอง ข้อมูล สารสนเทศ วิทยุ -โทรทัศน์ สิ่งแวดล้อม ผู้เรียน ใช้ทักษะกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ต่าง ๆ คอมพิวเตอร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เอกสารและสิ่งพิมพ์ สื่อจากท้องถิ่น ครู : Facilitator มีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก - เป็นกัลยาณมิตร - ประสานงาน/เตรียมแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ - จัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - ประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง
Globalization Data Information Knowledge Wisdom ท้องถิ่น ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ภูมิปัญญา นำเสนอสู่สังคม พัฒนาหรือแก้ปัญหา สู่ภูมิปัญญาของตนเอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปเป็นความรู้ของตนเอง ข้อมูล สารสนเทศ วิทยุ -โทรทัศน์ สิ่งแวดล้อม ผู้เรียน ใช้ทักษะกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ต่าง ๆ คอมพิวเตอร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เอกสารและสิ่งพิมพ์ สื่อจากท้องถิ่น ครู : Facilitator มีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก - เป็นกัลยาณมิตร - ประสานงาน/เตรียมแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ - จัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - ประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง
มาตรการที่ 6 จัดนำเสนอผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาประจำปี
6 มาตรการ กระบวนการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู้สู่คุณภาพสากล โดยใช้กลยุทธ์หนึ่งนักเรียนหนึ่งความรู้ โดย...ประจักษ์ ศรสาลี* กศ.บ. (คณิตศาสตร์) กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) Ph.D. (ยุทธศาสตร์การบริหารและการพัฒนา