1 / 22

การ วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคม อาเซียน

Keynote speech 2557. การ วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคม อาเซียน. ห้องประชุมอาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สิรินธร ม. พายัพ 7 กุมภาพันธ์ 2557. สารบัญ. ประชาคมอาเซียน ทำไมต้องมีวิจัยท้องถิ่น มหาวิทยาลัยกับงานวิจัย. ประชาคม อาเซียน กับประเทศไทย.

ull
Download Presentation

การ วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคม อาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Keynote speech 2557 การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน ห้องประชุมอาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สิรินธร ม. พายัพ 7กุมภาพันธ์ 2557

  2. สารบัญ • ประชาคมอาเซียน • ทำไมต้องมีวิจัยท้องถิ่น • มหาวิทยาลัยกับงานวิจัย

  3. ประชาคมอาเซียน กับประเทศไทย • อาเซียนมุ่งสร้างความเข้มแข็งแก่กัน เป็นแบบเปิด • อาเซียนเหนือและ อาเซียนใต้ • 10 ประเทศในอาเซียน • ศักยภาพและโอกาส • การรวมกลุ่ม economy of scale, specialization • AEC เป็น game changer ไม่ใช่ event • การเคลื่อนย้ายประชากรหลัง 2015 ทั้งผลดีและผลกระทบ • ความร่วมมือในอาเซียนยังจำกัดแต่ในแวดวงราชการ

  4. Asean 10 GDP • 2006 US$1.09 trillion dollar • 2007 US$1.30 trillion dollar • 2008 US$1.51 trillion dollar • 2009 US$1.49 trillion dollar • 2010 US$1.85 trillion dollar • Brazil: US$1.601 trillion dollar • Canada: US$1.574 trillion dollar • India: US$1.538 trillion dollar • Russia: US$1.222 trillion dollar Trade to GDP is over 100%: 180/150; FDI $36 billion

  5. asean

  6. migration

  7. Asean labor

  8. ไทยในอาเซียน ประเภทธุรกิจ ลักษณะทางธุรกิจ ไทยมีทั้ง ธุรกิจขนาดใหญ่และ SME แต่เราไม่ชอบการทำธุรกิจส่วนตัว บัณฑิตจบใหม่มักหันไปเป็นลูกจ้าง • บริษัทยักษ์ใหญ่เช่น ปตท ซีพี และ ปูนซีเมนต์ • บริษัทขนาดกลางและเล็ก หรือ SME • บริษัทขนาดจิ๋ว หรือ micro • ธุรกิจในครอบครัวหรือท้องถิ่น

  9. ข้อจำกัดของไทย จุดอ่อน จุดแข็ง ด้านวัฒนธรรมที่มีใจกว้าง ยอมรับไม่รังเกียจวัฒนธรรมต่างชาติ เป็นที่ยอมรับนับถือในอาเซียน • ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ • ชอบความสะดวกไม่อยากไปที่ที่ลำบาก • วิสัยทัศน์การทำงานในต่างประเทศสำหรับคนไทย • เคยชินแต่ระบบไทย แต่เข้าใจอาเซียนน้อย

  10. ปัญหาของท้องถิ่นด้านสังคมศาสตร์ปัญหาของท้องถิ่นด้านสังคมศาสตร์ • มีข้อจำกัดด้านทรัพยากร ทางการเงิน • การแก้ปัญหาความยากจน การกระจายรายได้ • ความต้องการบริการทางสังคมและเศรษฐกิจจากภาครัฐ • รายได้และความสามารถในการจ่ายค่อนข้างน้อย • การรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานทดแทน • ความรู้ความสามารถด้านการขายและไม่มีข้อมูลความต้องการตลาด • การเป็นแหล่งท่องเที่ยวและการให้บริการอื่นๆ

  11. ASEAN Poverty 78% 73% 64% 52% 46% 25% 9% 0% 0% Netherlands-Thai Chamber of Commerce, Belgian-Luxembourg/Thai Chamber of Commerce

  12. ทำไมต้องวิจัยท้องถิ่นทำไมต้องวิจัยท้องถิ่น • ความรู้ความเข้าใจในระดับ macrovsระดับท้องถิ่น • เอกลักษณ์และ swotsของท้องถิ่นแต่ละแห่ง • Niche หรือคุณลักษณะที่เอื้อต่อการแข่งขันและร่วมมือกัน • หาข้อเสนอแนะเพื่อสร้างความสามารถในการรักษาความเข้มแข็งของท้องถิ่น การรักษาเอกลักษณ์ และมรดกทางวัฒนธรรม ให้ยั่งยืน • Tailor made solution vs one size fits all solution สำหรับด้านสังคมศาสตร์ • ประเทศจะเจริญก้าวหน้าไม่ได้หากท้องถิ่นอ่อนแอ หากตอบโจทย์ท้องถิ่นได้จะปลดล๊อคข้อจำกัดของประเทศให้พัฒนาได้อย่างมหาศาล

  13. บทบาทของมหาวิทยาลัยและงานวิจัยบทบาทของมหาวิทยาลัยและงานวิจัย • มหาวิทยาลัยมีการกระจายไปทั่วประเทศใกล้ชิดกับท้องถิ่นมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน • ไม่ใช่แหล่งเรียนเหมือนในขั้นมัธยม • การเรียนรู้วิธีการทำวิจัย หรือการค้นคว้าหาข้อสรุปด้วยหลักวิทยาศาสตร์ • การเรียนอย่างเดียวโดยไม่มีการวิจัยจะไม่ก่อให้เกิดการค้นพบใหม่ๆ • อาจารย์ที่ไม่ทำงานวิจัยจะมีความรู้ใหม่ที่ลึกซึ้งเพื่อสอนลูกศิษย์ได้อย่างไร • ต้องมีการวิจัยเพื่อหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อให้นักศึกษาได้สิ่งที่ดี • งานวิจัยไม่จำเป็นต้องเป็นงานใหญ่โตที่ใช้เงินหรือทรัพยากรมากๆ โดยนักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษา • การสนับสนุนทางการเงินเพื่อการวิจัย

  14. ลักษณะงานวิจัย : มี impacts ต่อท้องถิ่น • งานวิจัยเพื่อหาความรู้ใหม่ๆตามความสนใจส่วนตัวของนักวิจัย • งานวิจัยเพื่อเสนอแนะแนวทางปรับปรุง ปัญหาปากท้องและชีวิตความเป็นอยู่การมีรายได้และการมีงานทำ • งานวิจัยที่มีเครือข่ายครอบคลุมหลายประเทศ • งานวิจัยเพื่อสนองนโยบายการพัฒนาท้องถิ่นของรัฐบาล • งานวิจัยด้านสังคมศาสตร์อาจไม่ได้ประโยชน์ตอบแทนทางการเงินที่ไปจดลิขสิทธิ์หรือทรัพย์สินทางปัญญา เช่นเดียวกับงานวิจัยด้านวิศวกรรมหรือการได้ประโยชน์ต่อมวลชนทันทีเช่น สาธารณสุข บ่อยครั้งอาจจะเป็นการสำรวจหรือหาข้อสรุปเพื่อเสนอต่อสังคม หรือชุมชนและท้องถิ่น

  15. ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในอาเซียนความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในอาเซียน • ควรให้มีความร่วมมือการทำวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยในอาเซียนซึ่งยังค่อนข้างน้อย • นักวิจัยและนักศึกษาอาจจะมี joint projects • ติดต่อโดยผ่าน internet ได้ง่าย • เพื่อให้ได้มีการแลกเปลี่ยนต่อกัน เรียนรู้สิ่งดีของกันและกัน • เนื่องจากมาสภาวการณ์ที่ใกล้เคียงกัน share best practices • เป็นหนทางให้ได้ประโยชน์จากการทำ comparative studies

  16. Post research • เมื่อเสร็จงานวิจัยแล้ว สิ่งที่ท้าทายความสามารถนักวิจัย คือการเผยแพร่งานวิจัยให้แก่นักวิจัยอื่นทั้งในและนอกประเทศ ที่สำคัญ คือการเผยแพร่งานวิจัยสู่สาธารณะ โดยเฉพาะท้องถิ่นเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อไป • การกระจายความรู้ที่ได้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติหรือการประยุกต์ใช้ • การประเมินผล

  17. สรุป: งานวิจัยและท้องถิ่น • ประชาคมอาเซียน • ทำไมต้องมีวิจัยท้องถิ่น • มหาวิทยาลัยกับงานวิจัย

  18. The end Pisitleeahtam@gmail.com

More Related