150 likes | 307 Views
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร. สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร ปี 2555 วันที่ 1 มีนาคม 2555 ณ ห้องอารี ยา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี. วัตถุประสงค์.
E N D
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตรนางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรสำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร ปี 2555วันที่ 1 มีนาคม 2555ณ ห้องอารียา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
วัตถุประสงค์ • พัฒนากลุ่มผู้ผลิตให้มีการผลิตสินค้าเพื่อผู้บริโภคที่นับถือศาสนาอิสลาม • พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้และใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย/ตัวชี้วัด พัฒนาความรู้สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน 4,640 ราย แบ่งเป็น 2 หลักสูตร 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล 1,760 ราย - 26 จังหวัด ( 88 กลุ่มๆ ละ 20 ราย)
เป้าหมาย/ตัวชี้วัด (ต่อ) 2. พัฒนาการผลิตและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2,880 ราย - 72 จังหวัด ๆละ 40 ราย ยกเว้น สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา (4 อำเภอ คือ จะนะ, นาทวี, สะบ้าย้อย, เทพา)
กิจกรรมหลักประกอบด้วย 4 กิจกรรม 1. อบรมเกษตรกรหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารฮาลาล (26 จังหวัด) รวม 1,760 ราย 2. ติดตามให้คำปรึกษาและตรวจประเมินสถานที่ ผลิต (26 จังหวัด) รวม 88 กลุ่ม 3. อบรมเกษตรกรหลักสูตรพัฒนาการผลิตและ บรรจุภัณฑ์ (72 จังหวัด) รวม 2,880 ราย 4. ออกแบบและจัดทำบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (72 จังหวัดๆ ละ 1 กลุ่ม/ผลิตภัณฑ์)
วิธีการดำเนินโครงการ 1. อบรมเกษตรกรหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล โดย สำนักงานเกษตรจังหวัด 26 จังหวัด เป้าหมาย:เกษตรกรจากกลุ่มผู้ผลิตที่ผ่านการตรวจ ประเมินสถานที่ผลิต ปี 2554 หรือ กลุ่มใหม่ที่ มีความต้องการเปิดตลาดอิสลาม หลักสูตร:ภาคผนวกที่ 1 วิทยากร:เจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะกรรมการอิสลาม ประจำจังหวัด ระยะเวลา: 1 ครั้งๆ ละ 2 วัน งบประมาณ: 200 บาท ต่อคน ต่อวัน
2. ติดตามให้คำปรึกษาและตรวจประเมินสถานที่ผลิต (26 จังหวัด) รวม 88 กลุ่ม เป้าหมาย:กลุ่มใหม่ที่สมาชิกผ่านการอบรมหลักสูตร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล หรือ กลุ่มเดิมที่ เข้าร่วมโครงการปี 2554 วิทยากร:เจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะกรรมการอิสลาม ประจำจังหวัด งบประมาณ: เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับวิทยากรในการตรวจ ประเมิน / ค่าธรรมเนียมต่ออายุเครื่องหมาย ฮาลาล / ค่าธรรมเนียมขอเครื่องหมายฮาลาล ใหม่ / ค่าใช้จ่ายอื่นๆตามระเบียบราชการ
3. อบรมเกษตรกรหลักสูตรพัฒนาการผลิตและบรรจุภัณฑ์ โดย สำนักงานเกษตรจังหวัด 72 จังหวัด เป้าหมาย:เกษตรกรจากกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป ด้านอาหารและด้านที่ไม่ใช่อาหาร หลักสูตร:ภาคผนวกที่ 2 วิทยากร:สถาบันการศึกษา / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา:1 ครั้งๆ ละ 2 วัน งบประมาณ: 200 บาท ต่อคน ต่อวัน
4. ออกแบบและจัดทำบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (72 จังหวัดๆ ละ 1 กลุ่ม/ผลิตภัณฑ์) เป้าหมาย:คัดเลือกกลุ่มที่มีศักยภาพการผลิต/ตลาด และมี ความพร้อมในการระดมทุนเพื่อใช้ในการผลิต บรรจุภัณฑ์จากต้นแบบเพื่อใช้งานจริงหลัง เสร็จสิ้นโครงการ งบประมาณ:เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ - จ้างเหมาออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ - ผลิตบรรจุภัณฑ์จากต้นแบบเพื่อใช้งานจริง - ค่าใช้จ่ายอื่นที่เบิกจ่ายได้ตามระเบียบราชการ
ติดตามความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานติดตามความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน โดย สำนักงานเกษตรจังหวัด รายงานผลการปฏิบัติงานเชิงปริมาณตามระบบ e-project รายงานผลการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพตามระบบ RBM
การสรุปรายงานผลการดำเนินงานการสรุปรายงานผลการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรจังหวัดจัดทำสรุปรายงาน ผลการดำเนินงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด 1. แบบรายงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล 26 จังหวัด (ภาคผนวกที่ 3) 2. แบบรายงานการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 72 จังหวัด (ภาคผนวกที่ 4) กำหนดส่งถึงกรมฯ 30 กันยายน 2555
ผลผลิต (OUTPUT) 1. เกษตรกรเข้ารับการอบรม ไม่น้อยกว่า 4,640 ราย 2. กลุ่มได้รับการติดตามให้คำปรึกษา/ตรวจประเมิน สถานที่ผลิตเพื่อขอเครื่องหมาย หรือต่ออายุเครื่องหมาย ฮาลาล ไม่น้อยกว่า 88 กลุ่ม 3. กลุ่มผู้ผลิต/ผลิตภัณฑ์ได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ต้นแบบ ไม่น้อยกว่า 72 ผลิตภัณฑ์
ผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. เกษตรกรนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปเพิ่ม ประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตรของกลุ่ม 2. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจประเมินสถานที่ผลิต ได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานฮาลาล 3. กลุ่มผู้ผลิตนำบรรจุภัณฑ์ต้นแบบไปผลิตเพื่อใช้งานจริง
ผู้ประสานงานโครงการ 1. นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร 2. นางสาวนิธิวดี อรัญอนุรักษ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ โทรศัพท์ 0 2579 7544 โทรสาร 0 2579 3009 และ 0 2940 6052 E-mail farmdev53@doae.go.th