710 likes | 869 Views
การประเมินผล การปฏิบัติราชการและ การเลื่อนเงินเดือน. วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (ก.พ.). www.ocsc.go.th. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ. มอบหมายงาน , จัดทำตัวชี้วัด กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละบุคคล. วางแผน (Plan). ตอบแทนการปฏิบัติงาน. ติดตาม (Monitor).
E N D
การประเมินผล การปฏิบัติราชการและ การเลื่อนเงินเดือน วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) www.ocsc.go.th
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ มอบหมายงาน , จัดทำตัวชี้วัด กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละบุคคล วางแผน (Plan) ตอบแทนการปฏิบัติงาน ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ติดตามงานที่มอบหมาย (ผลสัมฤทธิ์+ พฤติกรรม) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop) ประเมินผลงานบุคคล (ผลสัมฤทธิ์ + พฤติกรรม) ให้คำปรึกษา แนะนำ สอนงาน 2
การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ คืออะไร 3 • การประเมินความสำเร็จของงานอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานตลอดรอบการประเมิน โดยเปรียบเทียบผลงานกับเป้าหมาย/เกณฑ์มาตรฐานผลงานที่ผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงานกำหนดร่วมกันไว้ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน
วัตถุประสงค์ 4 เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหลักการของระบบคุณธรรม
หลักการ 5 มีความยืดหยุ่นในการเลือกวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่เหมาะกับลักษณะงาน และมีความคล่องตัวในการนำผลการประเมินไปประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน มีความโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้
รอบการประเมินและรอบการเลื่อนเงินเดือนรอบการประเมินและรอบการเลื่อนเงินเดือน รอบการเลื่อนเงินเดือน รอบการประเมิน ปีละ ๒ รอบ • รอบที่ ๑ : • รอบที่ ๒ : ๑ เมษายน ๑ ตุลาคม – ๓๑ มีนาคม ๑ ตุลาคม ๑ เมษายน – ๓๐ กันยายน 6
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน 1 30 พ.ย. 52 การเตรียมการ 2 การประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 30 พ.ย. 52/ 30 ธ.ค. 52 3 การจัดทำดัชนีชี้วัดรายบุคคล ติดตามและให้คำปรึกษาแนะนำการปฏิบัติงาน 4 5 การประเมินผลการปฏิบัติงานและให้คะแนน 6 พิจารณาผลคะแนนกับวงเงินงบประมาณ มีนาคม 53 7 เสนอฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการกลั่นกรองฯ 8 แจ้งผลการประเมิน 9 การประกาศรายชื่อ และร้อยละการเลื่อนเงินเดือน 1 เม.ย. 53 ออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือนและแจ้งผลเลื่อนเงินเดือน 10
ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 1 S2 S2
ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 2 S2 S1
ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3 M2 M1
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3 K5 K4 * ปรับใช้เฉพาะกรณี ก.พัฒนาสังคมที่มีตำแหน่ง K5 ใน สป.พม. เท่านั้น
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 4
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3
K3 K2 K1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน อื่นๆ (สำนักงานรัฐมนตรี) M2
ภาพรวมระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1 กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงานที่ผู้ปฏิบัติและผบ.ตกลงกัน คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ ของงาน ประเมิน พิจารณา ความดี ความชอบ 2 กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะที่ประกาศ องค์ประกอบ พฤติกรรม คะแนนประเมิน ผลการปฏิบัติ ราชการ คะแนน ประเมิน สมรรถนะ ประเมิน แจ้งผลและ ปรึกษาหารือ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง 3 องค์ประกอบ อื่นๆ คะแนน ประเมิน ปัจจัยอื่นๆ ประเมิน กำหนดโดยส่วนราชการ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 1 กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงานที่ผู้ปฏิบัติและผบ.ตกลงกัน องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ ของงาน คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน ประเมิน คือ
ตัวอย่างตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงานตัวอย่างตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การสรุปตัวชี้วัดลงในแบบฟอร์มสรุปผลสัมฤทธิ์ของงานการสรุปตัวชี้วัดลงในแบบฟอร์มสรุปผลสัมฤทธิ์ของงาน คัดกรองจากตัวชี้วัดที่ได้วิเคราะห์โดยการใช้เทคนิค 4 วิธี หรือ อาจสรุปได้จากวิธีอื่นที่ส่วนราชการเลือกใช้ สรุปและเลือกเฉพาะที่สำคัญ กำหนดน้ำหนักให้กับตัวชี้วัดแต่ละตัว โดยน้ำหนักรวมกัน =100% น้ำหนักของตัวชี้วัดแต่ละตัวไม่ควรต่ำกว่า 10% 3 2 1 ระบุ ค่าเป้าหมาย 5 ระดับ
การประเมินสมรรถนะ สมรรถนะ 2 กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะที่ประกาศ องค์ประกอบ พฤติกรรม คะแนน ประเมิน สมรรถนะ ประเมิน สมรรถนะ คือ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร
สาระสำคัญของ ว๒๗/๒๕๕๒ การแบ่งประเภทสมรรถนะ สมรรถนะหลัก มี ๕ สมรรถนะ (การมุ่งผลสัมฤทธิ์, บริการที่ดี, การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ, การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม, การทำงานเป็นทีม) สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง สมรรถนะทางการบริหาร มี ๖ สมรรถนะ (สภาวะผู้นำ, วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ, ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน, การควบคุมตนเอง, การสอนงานและมอบหมายงาน) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ให้ส่วนราชการกำหนดอย่างน้อย ๓ สมรรถนะ
สาระสำคัญของ ว๒๗/๒๕๕๒ *วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ,ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน
การสรุปสมรรถนะลงในแบบฟอร์มสรุปการประเมินสมรรถนะการสรุปสมรรถนะลงในแบบฟอร์มสรุปการประเมินสมรรถนะ 2 1
คำจำกัดความ: ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเองหรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH) 25
บริการที่ดี (Service Mind-SERV) คำจำกัดความ: ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการต่อประชาชน ข้าราชการ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 26
คำจำกัดความ: ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสม ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้าและ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise-EXP) 27
คำจำกัดความ: การดำรงตนและประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื่อรักษาศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity – ING) 28
คำจำกัดความ: ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งของทีม หน่วยงาน หรือส่วนราชการ โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิก ไม่จำเป็นต้องมีฐานะหัวหน้าทีม รวมทั้งความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม การทำงานเป็นทีม (Teamwork – TW) 29
การประเมินสมรรถนะด้วย BAR Scale [ต่อ] คะแนนสมรรถนะ = 11 x 100 = 73.33 % 15 11
ตัวอย่าง 31
ตัวอย่างแบบฟอร์มฯ แบบฟอร์มสรุปฯ ประกอบด้วยเอกสาร 3 หน้า 32
ตัวอย่างแบบฟอร์มฯ (ต่อ) รายละเอียดการกำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตลอดจน สมรรถนะ และการประเมินต่างๆ จะอยู่ในเอกสารแนบ ซึ่งส่วนราชการสามารถปรับแก้ให้เหมาะสมกับส่วนราชการได้ ตัวอย่างเอกสารแนบ 33
ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย ๕ ระดับ 34
การจัดลำดับผลการประเมินการจัดลำดับผลการประเมิน นำคะแนนประเมินมาจัดลำดับ และกำหนดช่วงคะแนนการประเมิน เช่น ดีเด่น 98-100 คะแนน 2 คน ดีมาก 95 - 97 คะแนน 3 คน ดี 92 – 94 คะแนน 27 คน พอใช้ 60 – 89 คะแนน 5 คน ต้องปรับปรุง น้อยกว่า 60 0 คน รวม 37 คน หรือ ดีเด่น 90-100 คะแนน 32 คน ดีมาก 80 - 89 คะแนน 5 คน ดี 92 – 94 คะแนน 0 คน พอใช้ 60 – 89 คะแนน 0 คน ต้องปรับปรุง น้อยกว่า 60 0 คน รวม 37 คน
กลไกสนับสนุนความโปร่งใส เป็นธรรม คณะกรรมการกลั่นกรอง หน้าที่ : พิจารณากลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อความเป็นธรรมแก่ผู้รับการประเมิน องค์ประกอบ : • คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม • รอง หน.สรก. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก. ผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ตามที่ หน.สรก.เห็นสมควร กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ • คณะกรรมการระดับจังหวัด • รอง ผวจ. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก. ผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ตามที่ ผวจ.เห็นสมควร กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ 36
ผลการประเมินกับการให้รางวัลผลการประเมินกับการให้รางวัล คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน พิจารณา ความดี ความชอบ คะแนนประเมิน ผลการปฏิบัติ ราชการ คะแนน ประเมิน สมรรถนะ แจ้งผลและ ปรึกษาหารือ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง
เสนอฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการกลั่นกรองฯ แจ้งผลการประเมิน ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ + ให้คะแนน การพิจารณา ผลการประเมินกับ วงเงินงบประมาณ การประกาศ รายชื่อ และร้อยละการเลื่อนเงินเดือน ออกคำสั่ง เลื่อนเงินเดือนและ แจ้งผลการเลื่อน เงินเดือน www.ocsc.go.th
วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน แยกวงเงินเลื่อน บริหารส่วนกลาง กับ บริหารส่วนภูมิภาค แยกวงเงิน อย่างน้อย 3 กลุ่ม คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน ส่วนราชการตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงิน ขรก. ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ • โดยเลื่อนเงินเดือนภายในกลุ่มก่อน หากเหลือสามารถเกลี่ยได้ • กลุ่มที่ 1 ประเภทบริหาร • กลุ่มที่ 2 ประเภทอำนวยการ • กลุ่มที่ 3 ประเภทวิชาการ และทั่วไป • ส่วนราชการ/จังหวัด: คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ • ครั้งที่ 1 (เลื่อน ง/ด 1 เม.ย.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณวันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 (เลื่อนเงินเดือน 1 ต.ค.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 ก.ย. • (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย.ไม่ได้) บริหารส่วนกลาง บริหารส่วนภูมิภาค • บริหารต้น-สูง • อำนวยการต้น-สูง • วิชาการ • ทั่วไป • วิชาการ • ทั่วไป • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • เชี่ยวชาญ • ทรงคุณวุฒิ • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ทักษะพิเศษ www.ocsc.go.th
ตัวอย่างสมมุติการคำนวณวงเงินเลื่อน 3 % ผลรวมของเงินเดือนของข้าราชการทั้งหมด x ร้อยละวงเงินเลื่อนที่ได้รับจัดสรร = วงเงินเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการทั้งหมด (รอบ 6 เดือน) เงินเดือน ณ วันที่ 1 มี.ค. / 1ก.ย. วงเงินเลื่อนเงินเดือน = 483,460 x 3 % = 14,504 บาท
K3 O3 K2 O2 K1 O1 ส่วนราชการที่มีราชการบริหารส่วนภูมิภาค 3% ผู้ว่าราชการจังหวัด ขรก. ในภูมิภาค • ส่วนกลางและภูมิภาคแบ่งวงเงินตามตำแหน่งที่ผู้ว่าฯ สั่งบรรจุและแต่งตั้ง • วิชาการ - ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ • ทั่วไป - อาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน
กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 S2 K5 O4 S1 M2 K4 M1 K3 O3 K2 O2 K1 O1 ให้เลื่อนภายในวงเงินของแต่ละกลุ่มก่อน หากเหลือ สามารถเกลี่ยให้กลุ่มอื่นได้ การแยกวงเงินเลื่อนเงินเดือน (อย่างน้อย 3 กลุ่ม)
ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3 M2 M1
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3 K5 K4 * ปรับใช้เฉพาะกรณี ก.พัฒนาสังคมที่มีตำแหน่ง K5 ใน สป.พม. เท่านั้น
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3
O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 4
K3 K2 K1 ผู้บริหารวงเงิน อื่นๆ (สำนักงานรัฐมนตรี) M2
แนวทางการพิจารณาจัดสรรวงเงินแนวทางการพิจารณาจัดสรรวงเงิน กรม..... หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองกลาง สำนัก.... สำนัก.... สำนัก.... หน่วยงาน หน่วยงาน • จัดสรรในอัตราที่เท่ากัน เช่น 3% หรือ 2.8 % • จัดสรรในอัตราที่ต่างๆ กัน
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อนและการจัดสรรตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อนและการจัดสรร www.ocsc.go.th
นำวงเงินที่เหลือของรอบนำวงเงินที่เหลือของรอบ การประเมินที่แล้วมาใช้ไม่ได้ www.ocsc.go.th