180 likes | 260 Views
๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด
E N D
๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด ๕. ผู้ผลิตยาเสพติด และผู้ขายกำลังทำตนเป็นฆาตกร ฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็น ๖. ครอบครัวปล่อยให้ลูกหลานติดยา โดยไม่พาไปรักษา ต้องให้เวลา ให้กำลังใจในการฟื้นฟูลูกหลานที่ติดยา จากพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิตดาลัย พระตำหนักจิตลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔
๑. กำหนดเป็น “วาระแห่งชาติ” ๒. ยึดหลักนิติธรรมในการปราบปราม โดยบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ๓. ยึดหลักเมตตาธรรม ผู้เสพคือผู้ป่วยต้องได้รับการบำบัดรักษา พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ ๔. ควบคุมและสกัดกั้นยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติด ๕. ป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๖. บริหารจัดการอย่างบูรณาการ นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ดำเนินการในปีแรก
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด 1. ยึดหลักเมตตาธรรม นำผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟู โดยมีเป้าหมาย 400,000 คน 2.มีศูนย์บำบัดฟื้นฟูทุกอำเภอ/เขต 928 แห่ง 3. มีทีมสหวิชาชีพบำบัดฟื้นฟูประจำอำเภอ 4. มีการติดตาม ดูแลช่วยเหลือหลังผ่านการบำบัดโดย อสม. และตำรวจ 5. วิธีการ ผู้เสพ บำบัดโดยค่ายพลังแผ่นดิน (ค่ายบำบัดในชุมชน) ทุกอำเภอ ผู้ติด บำบัดในสถานบำบัดของกระทรวงสาธารณสุข ค่ายวิวัฒน์พลเมือง กระทรวงกลาโหม สถานบำบัดของ สตช. /กทม. ศูนย์บำบัดฟื้นฟู กรมคุมประพฤติ
กระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติดกระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด : ประชาคม การค้นหา : สมัครใจกึ่งบังคับ (จูงใจ) หมู่บ้าน / ชุมชน ผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ การคัดกรอง เรือนจำ / สถานพินิจ ผู้ติด ผู้เสพ FAST Model / TC ( 4 เดือน ) ผู้ป่วยนอก : Matrix ( 4 เดือน :สธ.) ผู้ป่วยใน : FAST Model ( 4 เดือน :สธ.) ค่ายพลังแผ่นดินในชุมชน (≥9 วัน) ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ควบคุมตัว ไม่ควบคุมตัว เข้มงวด : กห., ยธ. ไม่เข้มงวด : กห., มท.,สธ. โปรแกรม สนง.คุมประพฤติ (รายงานตัว) ผู้ป่วยนอก : Matrix (4 เดือน :สธ.) : ไม่เสพซ้ำ คุณภาพชีวิต : มีอาชีพ/การ ศึกษา ติดตาม : อสม. / ตำรวจ (12 เดือน) : ฟื้นฟูต่อเนื่อง : ติดตาม ≥ 4 ครั้ง • ฝึกอาชีพ • จัดหางาน • การศึกษา กลับสู่ชุมชน
ตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด 1. 1 อำเภอ มี 1 ศูนย์ฟื้นฟู / ค่ายพลังแผ่นดิน 2. นำผู้เสพ / ผู้ติดเข้าบำบัดทุกระบบ จำนวน 400,000 คน 3. ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดอยู่ในอัตราส่วน 3 : 1,000 4. ผู้ผ่านการบำบัดฯ ไม่กลับไปเสพติดซ้ำ ไม่น้อยกว่า 80%
ผลลัพธ์การดำเนินงานด้านบำบัดรักษา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. ยกเว้นค่ายพลังแผ่นดิน ระบบสมัครใจจากระบบรายงาน ศพส.
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระบบสมัครใจ ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 ที่มา : - บำบัดในสถานบำบัด ข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. - ค่ายพลังแผ่นดิน / บำบัดตามมาตรการ 315 จากระบบรายงาน ศพส.
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดฯ ภาพรวมทั้งประเทศ
ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯ ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 2. จำนวน1 อำเภอ 1 ศูนย์ฟื้นฟู /ค่ายบำบัดในชุมชน (เป้าหมาย 928 แห่ง) ดำเนินการแล้วจำนวน 854 แห่ง (ร้อยละ 92.03) 3. จำนวนวิทยากรทีมบำบัดประจำอำเภอ (เป้าหมาย 9,280 คน) ดำเนินการแล้ว 6,490 คน (ร้อยละ 91.49)
ผลการดำเนินงานพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด(ระหว่างวันที่ 11 ก.ย 54- 25 ม.ค 55) ที่มา : ข้อมูลจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ ณ วันที่ ๒๔ ม.ค. ๕๕
ผลการดำเนินงานพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด(ระหว่างวันที่ 11 ก.ย 54- 25 ม.ค 55) สัดส่วนผลการดำเนินงานจริงในการจัดทำค่ายพลังแผ่นดินฯ ของจังหวัด : การนำเข้าระบบรายงาน ศพส. = 3,191 : 1,216 คิดเป็น3:1 ที่มา : ข้อมูลจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ ณ วันที่ ๒๔ ม.ค. ๕๕
ข้อเสนอ 1. การนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด โดยเน้นระบบสมัครใจ / สมัครใจกึ่งบังคับ(จูงใจ) เป็นลำดับแรก มท. : วิทยากรกระบวนการ การค้นหา มาตรการทางสังคม ตำรวจ : ชักชวน จูงใจ กดดันนำเข้าสู่ระบบสมัครใจกึ่งบังคับ 2. การนำเข้าข้อมูลที่ตรงกับการดำเนินงานจริง อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง 3. การบูรณาการงบประมาณด้านการบำบัดฯ ให้ถือเป็นความสำคัญอันดับแรก