0 likes | 5 Views
u0e27u0e07u0e01u0e32u0e23u0e1eu0e23u0e30u0e40u0e04u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07u0e19u0e31u0e49u0e19 u0e2bu0e23u0e37u0e2du0e40u0e0bu0e35u0e22u0e19u0e1eu0e23u0e30u0e15u0e48u0e32u0e07u0e46 u0e2au0e33u0e2bu0e23u0e31u0e1au0e1cu0e39u0e49u0e17u0e35u0e48u0e40u0e1eu0e34u0e48u0e07u0e40u0e23u0e34u0e48u0e21u0e25u0e2du0e07u0e28u0e36u0e01u0e29u0e32u0e2du0e32u0e08u0e08u0e30u0e21u0e35u0e04u0e27u0e32u0e21u0e22u0e32u0e01u0e43u0e19u0e01u0e32u0e23u0e28u0e36u0e01u0e29u0e32 u0e40u0e1eu0e23u0e32u0e30u0e40u0e23u0e32u0e15u0e49u0e2du0e07u0e40u0e02u0e49u0e32u0e43u0e08u0e25u0e36u0e01u0e16u0e36u0e07u0e23u0e32u0e22u0e25u0e30u0e40u0e2du0e35u0e22u0e14u0e1eu0e23u0e30u0e0au0e19u0e34u0e14u0e15u0e48u0e32u0e07u0e46 u0e44u0e21u0e48u0e43u0e0au0e48u0e41u0e04u0e48u0e40u0e23u0e32u0e23u0e39u0e49u0e27u0e48u0e32u0e2au0e23u0e23u0e1eu0e04u0e38u0e13u0e2du0e30u0e44u0e23 u0e21u0e35u0e04u0e27u0e32u0e21u0e02u0e25u0e31u0e07u0e02u0e19u0e32u0e14u0e44u0e2bu0e19 u0e2bu0e23u0e37u0e2du0e2du0e30u0e44u0e23u0e17u0e35u0e48u0e04u0e19u0e44u0e17u0e22u0e19u0e34u0e22u0e21u0e1au0e39u0e0au0e32 u0e14u0e31u0e07u0e19u0e31u0e49u0e19u0e01u0e48u0e2du0e19u0e17u0e35u0e48u0e08u0e30u0e44u0e1bu0e40u0e08u0e32u0e30u0e25u0e36u0e01u0e40u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07u0e2du0e37u0e48u0e19u0e46 u0e2du0e31u0e19u0e14u0e31u0e1au0e41u0e23u0e01u0e1eu0e35u0e48u0e41u0e04u0e0au0e27u0e48u0e32u0e40u0e23u0e32u0e04u0e27u0e23u0e08u0e30u0e14u0e39u0e1eu0e23u0e30u0e43u0e2bu0e49u0e40u0e1bu0e47u0e19u0e01u0e48u0e2du0e19u0e27u0e48u0e32 u0e40u0e19u0e37u0e49u0e2du0e1eu0e23u0e30u0e40u0e04u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07u0e0au0e19u0e34u0e14u0e15u0e48u0e32u0e07u0e46 u0e19u0e31u0e49u0e19u0e21u0e35u0e2du0e30u0e44u0e23u0e1au0e49u0e32u0e07 u0e41u0e25u0e30u0e41u0e15u0e01u0e15u0e48u0e32u0e07u0e01u0e31u0e19u0e2du0e22u0e48u0e32u0e07u0e44u0e23 u0e40u0e23u0e34u0e48u0e21u0e15u0e49u0e19u0e17u0e35u0e48 5 u0e0au0e19u0e34u0e14u0e19u0e35u0e49u0e01u0e31u0e19u0e01u0e48u0e2du0e19u0e40u0e25u0e22u0e04u0e23u0e31u0e1a. u0e1eu0e23u0e30u0e40u0e04u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07<br>https://onepra.com/<br>
E N D
5 พระเครื่องชนิดต่างๆที่ควรรู้จัก วงการพระเครื่องนั้นหรือเซียนพระต่างๆส าหรับผู้ที่เพิ่งเริ่มลองศึกษาอาจจะมีความยากในการศึกษา เพราะเราต้องเข้าใจลึกถึงรายละเอียดพระชนิดต่างๆไม่ใช่แค่เรารู้ว่าสรรพคุณอะไรมีความขลังขนาดไหน หรืออะไรที่คนไทยนิยมบูชาดังนั้นก่อนที่จะไปเจาะลึกเรื่องอื่นๆอันดับแรกพี่แคชว่าเราควรจะดูพระให้เป็นก่อนว่า เนื้อพระเครื่องชนิดต่างๆนั้นมีอะไรบ้างและแตกต่างกันอย่างไรเริ่มต้นที่ 5 ชนิดนี้กันก่อนเลยครับ. พระเครื่อง 1. พระเนื้อผง เริ่มต้นด้วยพระเครื่องที่มีให้พบเห็นค่อนข้างบ่อนนั่นคือพระเนื้อผงที่เป็นการท าขึ้นจากหลวงพ่อวัดต่างๆ โดยใช้วัสดุที่เป็นผงพุทธคุณที่มีการเรียกสูตรเพิ่มความขลังเขียนอักระเลขยันต์ต่างๆและการบริกรรมสูตรพระคาถาลงไป ด้วยดินสอผงวิเศษจากนั้นน าผงนั้นมาหล่อปั้นเป็นพระหรือจ้างโรงงานปั๊มพระออกมาเป็นรูปแบบที่ต้องการเช่นพระสมเด็จ พระหลวงพ่อคูณพระหลวงปู่โต๊ะพระหลวงปู่ทิมเป็นต้นซึ่งสุดท้ายแล้วก็จะน ามาผ่านการปลุกเสกจากพระอาจารย์ชื่อดัง เพื่อให้เกิดความขลังในแบบที่คุณต้องการซึ่งวัตถุดิบส่วนใหญ่มาจากเนื้อปูนพระเนื้อผงเป็นพระที่เริ่มมีมาไม่นาน ในช่วงยุครัตนโกสินทร์เท่านั้น. หลวงปู่ทวด 2. พระเนื้อดิน พระเนื้อดินนี้เป็นพระที่มีอายุการสร้างเก่าแก่มากที่สุดเป็นการน าดินที่เป็นวัสดุหาง่ายแต่มีความทนทาน มาสร้างสรรค์ปฏิมากรรมเป็นรูปร่างซึ่งมนุษย์เรามีความเชื่อมาตั้งแต่อดีตว่าดินเป็นดั่งเทพเจ้าที่มีคุณอเนกอนันต์อย่างมาก ซึ่งแน่นอนครับว่าดินที่น ามาสร้างพระนี้ต้องเป็นดินที่มาจากศาสนสถานที่ส าคัญหรือศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น ซึ่งพระเนื้อดินนั้นสามารถผสมสิ่งศักดิ์สิทธ์ต่างๆในการปั้นได้เลยเพื่อให้มีอิทธิฤทธิ์แรงกล้าเมื่อได้วัตถุดิบที่ต้องการแล้ว ก็จะน าสิ่งเหล่านั้นมาผสมเป็นเนื้อเดียวกันแล้วไปกดลงในแม่พิมพ์ถ้าเผาให้แห้งจะเรียกพระดินเผาหรือถ้าปล่อยให้แห้งเอง ก็จะเรียกพระดินดิบซึ่งจะท าให้ได้พระเนื้อดินที่มีพระเดชพระคุณเหมือนเช่นพระขุนแผนบ้านกร่างนางพญาพิษณุโลกหรือ หลวงพ่อโหน่งวัดคลองมะดันเป็นต้น 3. พระเนื้อชิน
ค าว่าชินในพจนานุกรมแปลว่าแร่ตะกั่วชนิดหนึ่งซึ่งพระเนื้อชินก็คือพระที่มีโลหะผสมมีแร่ตะกั่วรวมอยู่แบ่งได้ 3 แบบคือ -เนื้อชินตะกั่วเป็นพระเนื้อชินที่มีแร่ตะกั่วมากกว่าแร่ชนิดอื่นถ้ามีอายุมากจะเกิดสนิมได้ง่าย และอาจเกิดการแตกรานแบบใยแมงมุม -เนื้อชินเงินเป็นพระเนื้อชินที่มีเนื้อในสีขาวคล้ายเงินยวงมีส่วนผสมของตะกั่วกับดีบุกเป็นหลัก -เนื้อชินเขียวเป็นพระเนื้อชินที่มีส่วนผสมระหว่างแร่ตะกั่วกับแร่สังกะสีท าให้ได้สีออกเขียวปนด าถ้ามอายุมากเนื้อพระจะแห้ง เป็นสีด า พระชินส่วนใหญ่จะเป็นพระกรุรุ่นเก่าที่มีอายุมากเป็นร้อยปีขึ้นไปคือผสมพระเข้ากับแร่ต่างๆตามสูตรโบราณแล้วฝังกรุ ซึ่งพอคนไปขุดพบขึ้นมาก็น ามาแขวนหรือขายเช่นพระร่วงพระมเหศวร ซึ่งในปัจจุบันจะไม่นิยมสร้างพระเครื่องเนื้อนี้อีกแล้วครับ 4. พระเนื้อโลหะ พระเนื้อโลหะนี้จะคล้ายๆกับเนื้อชินตรงที่เป็นการน าส่วนผสมต่างๆที่มีความส าคัญน ามาผสมรวมกันกับโลหะ สร้างพระใหม่ขึ้นมาซึ่งมี 4 ชนิดด้วยกันคือ 1. พระเนื้อทองค า 2. พระเนื้อเงิน 3. พระเนื้อทองแดง 4. พระเนื้อตะกั่ว สังเกตง่ายๆพระเนื้อโลหะก็คือเช่นพระรูปหล่อเหรียญต่างๆพระกริ่งพระบูชาตามยุคต่างๆเช่นเชียงแสนอยุธยา รัตนโกสินทร์เป็นต้น 5. พระเนื้อว่าน ตั้งแต่อดีตโบราณมาแล้วคนไทยเราก็มีความผูกพันกับไม้ตระกูลว่านมานานแล้วทั้งเอามาใช้ท ายา แถมยังเชื่อว่าพืชตระกูลนี้จะช่วยให้อยู่ยงคงกระพันเป็นสิริมงคลกับชีวิต ดังนั้นจึงมีการสร้างสิ่งมงคลในรูปแบบพระเครื่องที่ท าจากว่านเหล่านี้อยู่เยอะแยะมากมายพระเครื่องหลายๆ ชิ้นมีส่วนของว่านผสมอยู่ไม่ว่าจะเป็นพระหลวงปู่ทวดเหยียบน ้าทะเลจืดพระกรุทุ่งเศรษฐีพระผงสุพรรณพระนางพญา พระสมเด็จวัดระฆังเป็นต้น https://onepra.com/