190 likes | 462 Views
สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. จังหวัด ( province) เขต ( county) นคร ( city) เมือง ( town) อำเภอ ( township) หมู่บ้าน ( village). สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. ลักษณะการเกษตรโดยทั่วไป
E N D
สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีสหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี • จังหวัด (province) • เขต (county) • นคร (city) • เมือง (town) • อำเภอ (township) • หมู่บ้าน (village)
สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีสหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี • ลักษณะการเกษตรโดยทั่วไป • พื้นที่เป็นภูเขา มีพื้นที่เกษตร ~ ร้อยละ 22 ของพื้นที่ทั้งประเทศ โดยปลูกข้าว ร้อยละ 60และปลูกพืชไร่ ร้อยละ 40 • จำนวนเกษตรกรลดลงทุกปี เนื่องจากความเจริญทางอุตสาหกรรมและ การขยายตัวของเขตเมืองเข้าสู่ภาคชนบท ทำให้พื้นที่การเกษตรลดลง • มีแนวคิดในการพัฒนาชนบทโดยใช้โครงการพัฒนาชุมชนใหม่ (New Community Movement) ซึ่งเป็นวิธีการพัฒนาแบบพึ่งตัวเอง (Self-help development) อาศัยความร่วมมือกันในชุมชน ยึดหลักความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างชุมชนกับการสร้างชาติ
ประวัติการจัดตั้งสหกรณ์ประวัติการจัดตั้งสหกรณ์ • ปี 2450 จัดตั้งสมาคมการเงิน (The Kwang-ju Local Financial Association)เป็นแหล่งสินเชื่อเกษตร เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ตามหลักการสหกรณ์ตามแบบ ฉบับสหกรณ์เครดิตชนบท Raiffeison • ปี 2453 ก่อตั้งสมาคมเกษตรกร เพื่อทำธุรกิจด้านการจัดซื้อปัจจัยการผลิต • ปี 2499 จัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรแห่งชาติเกาหลีในรูปบริษัทร่วมทุน • ปี 2500 เปลี่ยนสมาคมเกษตรกรเป็นสหกรณ์การเกษตร • ปี 2504 รวมธนาคารเพื่อการเกษตรฯ เข้ากับสหกรณ์การเกษตรเดิม เป็นชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (The National Agricultural Cooperative Federation: NACF)
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร • ก่อนปี 2523 สหกรณ์ถูกจัดไว้เป็น 3 ระดับ คือ • สหกรณ์ขั้นปฐมในระดับอำเภอหรือหมู่บ้าน (Township or Village cooperatives ) • - ก่อนปี 2504 ขาดเงินทุน ทำธุรกิจเฉพาะร้านค้าและการตลาดผลผลิต • - ปี 2512 วางแผนรวมสหกรณ์หมู่บ้านเข้าด้วยกันเป็นระดับอำเภอ • สหกรณ์ขั้นมัธยมในระดับเขตหรือนคร (County or City cooperatives) • - ทำธุรกิจด้านบริการสินเชื่อ ประกันภัย โครงการพัฒนาเศรษฐกิจ และให้คำปรึกษาของสหกรณ์ขั้นปฐม • ชุมนุมสหกรณ์ในระดับชาติ (National cooperative)
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร (ต่อ) 3. ชุมนุมสหกรณ์ในระดับชาติ (National cooperative) - ตั้งขึ้นในปี 2504 มีสหกรณ์หมู่บ้าน สหกรณ์เขต สหกรณ์รูปพิเศษ เป็นสมาชิก - มีหน้าที่เกื้อกูลธุรกิจของสหกรณ์ระดับเขตหรือนคร และ ให้คำแนะนำแก่สหกรณ์ขั้นปฐมระดับหมู่บ้านเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงาน รวมทั้งให้ความเข้าใจกับเกษตรกรในเรื่องสหกรณ์
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร (ต่อ) • สหกรณ์ถูกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • สหกรณ์การเกษตรอเนกประสงค์ • - ปี 2514 สหกรณ์ขั้นปฐมพัฒนาเป็นสหกรณ์อเนกประสงค์ • - ดำเนินธุรกิจด้านสินเชื่อเกษตร จำหน่ายปุ๋ย สารเคมีและ บริการเรื่องการประกันภัย • สหกรณ์การเกษตรรูปพิเศษ (Special Agricultural Cooperatives) • ได้แก่ สหกรณ์ผู้ปลูกผักผลไม้ และสหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์ เป็นสมาชิก NACF โดยตรง
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ในช่วงปี 2518-2523 มีการขยายตัวของธุรกิจสหกรณ์อย่างมาก • - สหกรณ์ขั้นปฐมริเริ่มโครงการพัฒนาชุมชนใหม่ เพื่อสร้างรายได้ให้ เกษตรกร • - NACF ได้โยกย้ายงานด้านการประกันชีวิต การแลกเปลี่ยนเงินตรา สินเชื่อระยะกลางและยาวให้กับสหกรณ์การเกษตรอำเภอ • - มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลทางการตลาดสินค้าเกษตรและปรับปรุง ประสิทธิภาพการตลาด • - องค์กรในระดับหมู่บ้านเปลี่ยนชื่อไปเป็น Farming Society เช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน มีหน้าที่เฉพาะเจาะจง
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ปลายปี 2523 ประกาศใช้กฎหมายสหกรณ์ฯฉบับใหม่ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง สหกรณ์และตั้งชุมชนสหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์แห่งชาติขึ้นมาใหม่ • สหกรณ์การเกษตรระดับปฐม (Primary Agricultural Cooperatives) • - มีสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกธรรมดา กับ สมาชิกสมทบ • - ดำเนินธุรกิจ รับฝาก ให้กู้ แปรรูป ขายผลผลิตของสมาชิก จัดให้มีการ ประกันภัย จัดหาวัสดุอุปกรณ์การเกษตร ให้บริการฯ • - การจัดโครงสร้างใหม่ ทำให้ต้นทุนในการดำเนินงานลดลงและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (National Agricultural Cooperative Federation: NACF) • - มีสหกรณ์ระดับปฐมและสหกรณ์รูปพิเศษเป็นสมาชิก • - มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก ควบคุมแนะนำและ ให้บริการในด้านธุรกิจแก่สหกรณ์ระดับปฐม • ปี 2530 มีการประกาศความเป็นประชาธิปไตยในเกาหลีใต้ สมาชิกเกษตรกร เรียกร้องความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้นในสหกรณ์การเกษตร - มีการประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นในการพัฒนาสหกรณ์ฯ - สหกรณ์ฯ มีอิสระมากขึ้น ขยายขอบเขตการดำเนินธุรกิจออกไป อย่างกว้างขวาง
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ(NACF)ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ(NACF) สำนักงานระดับจังหวัด สำนักงานระดับเขต สำนักงานระดับนคร สหกรณ์การเกษตรรูปพิเศษ(ผู้ปลูกผักผลไม้) สหกรณ์การเกษตรระดับปฐม(อเนกประสงค์) เกษตรกรสมาชิก เกษตรกรสมาชิก โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)
การบริหารงาน • สหกรณ์ระดับปฐม • ที่ประชุมใหญ่: ผู้แทนสมาชิก (2 ปี) และคณะกรรมการฯ (3 ปี) ทำหน้าที่กำหนดนโยบายสหกรณ์ เลือกผู้ตรวจบัญชี 2 คน (2 ปี) • ผู้จัดการทั่วไปของสหกรณ์ดูแลงานด้านบริหารและการจัดการธุรกิจ • สมาชิกร่วมมือกับโครงการพัฒนาชุมชนใหม่ โดยจัดตั้งเป็นสมาคม และกลุ่มต่างๆ ในระดับหมู่บ้าน เช่น สมาคมการเกษตรพัฒนา สมาคมสตรีพัฒนา
การบริหารงาน (ต่อ) • ในระดับชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (NACF) • ที่ประชุมใหญ่: มีการประชุมปีละครั้ง • คณะกรรมการบริหาร: ประธานชุมนุม เลือกตั้งโดยประธานสหกรณ์ระดับปฐม ก่อนปี 2531 แต่งตั้งโดยประธานาธิบดีกรรมการเป็นข้าราชการกระทรวงเกษตรและกระทรวงการคลัง (@ 1 คน)กรรมการแต่งตั้งโดยผู้จัดการธนาคารแห่งชาติ (1) ผู้แทนสหกรณ์การเกษตร(3) ศาสตราจารย์ด้านการเกษตรและเศรษฐศาสตร์เกษตร (2) • คณะกรรมการดำเนินการ: 8 คนเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ • ผู้ตรวจสอบบัญชี 2 คน
โครงสร้างองค์กรของ NACF 1,278 109
การดำเนินธุรกิจ • วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ปรับปรุงฐานะความเป็นอยู่ ของเกษตรกร และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ • ธุรกิจการธนาคาร การขาย การซื้อหรือจัดหา การประกันภัย การใช้ประโยชน์ ร่วมกันของอุปกรณ์ต่างๆ การแปรรูปร่วมกัน การให้คำแนะนำและให้การ อบรมทางการเกษตร • ภายใต้กฎหมายใหม่ มีการขยายขอบเขตของธุรกิจเพิ่มมากขึ้น เช่น ธุรกิจ นายหน้าค้าที่ดิน ธุรกิจขนส่ง การร่วมลงทุนในธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • เป็นสถาบันการเงินในชนบทแห่งเดียว โดยมีแหล่งเงินทุนจากเงินออมของสมาชิก และ เงินกู้ (จากรัฐ ธนาคารแห่งชาติ ต่างประเทศ) • เป็นหน่วยงานจัดหาวัสดุอุปกรณ์การเกษตรให้เกษตรกร
การดำเนินธุรกิจ (ต่อ) • NACF เป็นผู้รวบรวมผลผลิตให้รัฐ และดำเนินธุรกิจเพื่อส่งเสริมและ อำนวยความสะดวกแก่สมาชิก • - ธุรกิจการค้าต่างประเทศ • - ธุรกิจการธนาคารระหว่างประเทศ • - ธุรกิจเงินกู้ต่างประเทศ • - กิจกรรมด้านการศึกษาวิจัยและให้การศึกษาอบรม • - งานบริการ เช่น มีตลาดกลางขายผลผลิต ศูนย์ให้ข่าวสาร
บทบาทของรัฐกับสหกรณ์การเกษตรบทบาทของรัฐกับสหกรณ์การเกษตร • การออกกฎหมายควบสหกรณ์การเกษตรเข้ากับธนาคารเพื่อการเกษตรฯ • การพัฒนาพื้นที่ทำการเกษตร • ให้สหกรณ์เป็นผู้รวบรวมผลิตผลทางการเกษตรและสถาบันการเงิน ในชนบทเพียงแห่งเดียว • รัฐเป็นผู้ถือหุ้นในสหกรณ์ • ให้สหกรณ์ดำเนินการตามโครงการพัฒนาชุมนุมใหม่ของรัฐ
ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าของสหกรณ์การเกษตรปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าของสหกรณ์การเกษตร การสนับสนุนและส่งเสริมจากรัฐบาล การบริหารงานของกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์