1.65k likes | 2.21k Views
การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น. ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โทร 0-2241-9000 ต่อ 2122-4. ประเด็นนำเสนอ. 1. แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 3. แนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี
E N D
การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นการจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โทร 0-2241-9000 ต่อ 2122-4
ประเด็นนำเสนอ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 3. แนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี 4. แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงาน 5. คณะกรรมการติดตามและประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น
แนวคิดการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น หลักการกระจายอำนาจ • กระจายภารกิจหน้าที่ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบ (245 ภารกิจ) • กระจายอำนาจการตัดสินใจดำเนินการ การกำหนดนโยบาย การวางแผน กาบริหารจัดการ • กระจายอำนาจบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมเสนอแนะความต้องการ • กระจายความรับผิดชอบต่อหน้าที่ให้ผู้บริหารท้องถิ่น ให้ประชาชน ร่วมกันตรวจสอบหน้าที่อย่างโปร่งใส
จัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลางจัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง กับส่วนภูมิภาค และการปกครองท้องถิ่น ทำหน้าที่ในเชิงกลยุทธ์ กำหนดยุทธศาสตร์ พัฒนานโยบาย สนับสนุนความรู้วิทยาการใหม่และกำกับดูแลตรวจวัดสัมฤทธิผลของการปฏิบัติงานของราชการส่วนภูมิภาค และ อปท.ไม่ใช่หน่วยปฏิบัติ ส่วนกลาง เชื่อมโยงความสัมพันธ์ทางยุทธศาสตร์ ให้คำปรึกษาชี้แนะสนับสนุน และช่วยเหลือทางเทคนิค กำกับดูแลและเป็นตัวแทนของหน่วย ราชการส่วนกลางปฏิบัติภารกิจที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทำไม่ได้ หรือทำได้ไม่ดีพอตามพันธะสัญญาที่มีต่อราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รับผิดชอบปฏิบัติกิจกรรมบริการประชาชนที่เป็นเรื่องใกล้ตัวที่ผู้คนในท้องถิ่นรู้ปัญหาความต้องการดีกว่าและมีความสามารถแก้ปัญหาและทำการพัฒนาได้ดีกว่าราชการส่วนภูมิภาค หน่วยการ ปกครองท้องถิ่น
แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงกระบวนการแก้ปัญหา ปัญหา คืออะไรปัญหา คืออะไร ปัญหา มีสาเหตุมาจากอะไร จุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ ในการแก้ปัญหาคืออะไร วิธีการ หรือแนวทางแก้ปัญหาคืออะไร
แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงกระบวนการและเนื้อหาวิธีการ จะทำไปทำไมจะทำอะไร จะทำที่ไหน จะทำเมื่อไร จะทำโดยใครจะทำเพื่อใคร จะทำอย่างไรจะใช้จ่ายเท่าไร
แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงการตัดสินใจ เป้าหมาย แนวทาง/โครงการ/กิจกรรม วิธีการทำงาน 4 Ms ผลลัพธ์ ผลผลิต กระบวนการ ทรัพยากร
แนวคิดในการ วางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดสร้างสรรค์ - สัญชาตญาณ - เรียนรู้จากประสบการณ์ - องค์กรแห่งการเรียนรู้ - ข้อเท็จจริง - เรียนรู้จากผู้อื่น - การวิจัย - การวิเคราะห์สถานการณ์
สรุปความเชื่อมโยงแผนพัฒนาระดับต่างๆ กับ แผนพัฒนาท้องถิ่น และงบประมาณท้องถิ่น ปัจจัยนำเข้า แผน ยุทธศาสตร์ แผน พัฒนาสามปี งบประมาณ รายจ่าย อปท. แผนการ ดำเนินงาน (ปฏิทิน การทำงาน) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ • นโยบายของรัฐบาล/ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน • ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด/อำเภอ • นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น • ภารกิจตามอำนาจหน้าที่ • ปัญหาความต้องการ ของประชาชน/แผนชุมชน • ข้อมูล วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา โครงการ กิจกรรม หมวดรายจ่ายต่างๆ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)- วิสัยทัศน์ประเทศไทย : มุ่งพัฒนาสู่“สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”ภายใต้แนวปฏิบัติ ปรัชญาของศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”เพื่อให้การพัฒนาประเทศเป็นไปในทางสายกลาง “มีเหตุผล ความพอประมาณ ระบบภูมิคุ้มกัน” และการเสริมสร้าง “ความรู้” ควบคู่กับ “คุณธรรม” เป็นพื้นฐานพัฒนา
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)มี5 ยุทธศาสตร์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ 1. ด้านพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่ง ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ 2. ด้านการสร้างความเข้มแข็งของสังคมและชุมชนให้เป็น ฐานรากที่มั่นคงของประเทศ 3. ด้านการปรับโครงการเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน 4. ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ด้านเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ
1. ด้านพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่ง ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ • เป้าหมาย • - คนไทยได้รับการพัฒนาสุขภาพ กาย จิตใจ ความรู้ อาชีพที่มั่นคง • ปีการศึกษาเฉลี่ย 10 ปี • กำลังแรงงานมีคุณภาพ • อาชญากรรมลดลง • อายุคนไทยสูงขึ้น เฉลี่ย 80 ปี • ลดอัตราการเพิ่มของโรคที่ป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ หัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง พัฒนาให้คนมีคุณธรรม นำความรู้ เสริมสร้างสุขภาพทั้งกายและจิตใจ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เสริมสร้างให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
2. ด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้เป็นฐานรากที่มั่นคงของประเทศ • เป้าหมาย • ทุกชุมชนมีแผนชุมชน • ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ลดลง • การขยายโอกาสเข้าถึงแหล่ง เงินทุน • ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ • สัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจน ลดลง การบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็ง สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน สร้างชุมชนให้อยู่กับทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล
3. ด้านการปรับโครงการเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน • เป้าหมาย • สัดส่วนภาคเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่าง ประเทศเพิ่มขึ้น • สัดส่วนการผลิตภาคการเกษตรและ อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น • เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน • ลดอัตราส่วนการใช้พลังงานต่อผลิตภัณฑ์ • ลดการใช้น้ำมันภาคการขนส่ง • รายได้ของกลุ่มที่มีรายได้สูงสุดร้อยละ 20 แรกมีสัดส่วนที่ไม่เกิน 10 เท่าของรายได้ ของกลุ่มที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 ปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่ม มูลค่าของสินค้าและการบริการ การสร้างภูมิคุ้มกัน ของระบบเศรษฐกิจ สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่ เป็นธรรมและกระจายผลประโยชน์
4. ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • เป้าหมาย • มีพื้นที่ป่าไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 33 และต้องเป็นป่าอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 18 ของพื้นที่ประเทศ • พื้นที่การเกษตรเขตชลประทานไม่ น้อยกว่า 31,000,000 ไร่ • คุณภาพน้ำในลุ่มน้ำต่างๆ อยู่ใน เกณฑ์พอใช้และดี • อัตราการผลิตขยะในเขตเมืองไม่เกิน 1 กก./คน/วัน • ของเสียจากชุมชนและอุตสาหกรรม • ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง รักษาฐานทรัพยากรและความ สมดุลของระบบนิเวศ สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต พัฒนาคุณค่าความหลากหลาย ทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น
5. ด้านเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการประเทศ • เป้าหมาย • มุ่งให้ธรรมาภิบาลของประเทศดีขึ้น • ระบบราชการมีขนาดที่เหมาะสม • ธรรมาภิบาลในภาคเอกชนเพิ่มขึ้น • มีความสามารถในการจัดเก็บรายได้ และมีอิสระในการพึงตนเองมากขึ้น • ภาคประชาชนมีความเข้มแข็ง รู้สิทธิหน้าที่และมีส่วนร่วมในการ • ตัดสินใจและรับผิดชอบในการบริหาร จัดการประเทศ พัฒนาประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล ให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิต สร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการประเทศ สร้างภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาล
นโยบายของคณะรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2551 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2551 - 2554 (มติ ครม.เห็นชอบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2551)
แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน กรอบแนวคิด - สังคมไทยจะเริ่มเข้าสู่จุดเริ่มต้น ผู้สูงอายุในปี 2552 - ภาวะโลกร้อน และภัยพิบัติทาง ธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทิศทางการบริหารประเทศ - การสร้างความสมานฉันท์ให้กับ คนไทยทุกภาคส่วน - การสร้างความสมดุลและภูมิคุ้มกัน ให้กับเศรษฐกิจของประเทศ แนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน 1. นโยบายฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 3. นโยบายเศรษฐกิจ 4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม 6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ 7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ- ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. แบ่งเป็น 6 ด้าน 245 เรื่อง ใน 57 กรม 15 กระทรวง ถ่ายโอนแล้ว 180 เรื่อง ยังไม่ถ่ายโอน 64 เรื่อง ถอน 1 เรื่อง 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย 4. ด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว 5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน • ถนนในเขตชุมชนหรือกลุ่มหมู่บ้าน เช่น ผิวจราจร ช่องทางจราจร ทางเท้าหรือไหล่ทาง ที่จอดรถ • น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ให้แก่ประชาชนอย่างไม่ขาดแคลน • น้ำเพื่อการเกษตร มีแหล่งน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้ • ไฟฟ้าและความส่องสว่าง ตามแนวถนน ทางแยก พื้นที่สาธารณะ ให้เกิดความปลอดภัย
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต • - สุขภาพอนามัย การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น • การส่งเสริมอาชีพและรายได้ เช่น การรวมกลุ่มอาชีพ การพัฒนา ฝีมือในการประกอบอาชีพ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ จัดหาตลาดรองรับ • การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ อปท. • - การพัฒนาการศึกษา เช่น จัดตั้งศูนย์เด็กเล็ก การศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ • การพัฒนาผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเอดส์ ให้มีกิจกรรมและพึ่งตนเองได้ • - การสร้างความมั่นคงในชีวิต เช่น ด้านสุขภาพ ครอบครัวและการอยู่ อาศัย ความปลอดภัยในชีวิตและเครือข่ายเกื้อหนุน
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย • การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น อาสาสมัคร • การบูรณพื้นฟูสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และจิตใจที่ได้รับความ เสียหายจากภัยพิบัติ • การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว • การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ตามความ • เหมาะสมของแต่ละท่องถิ่น เช่น ปรับปรุงภูมิทัศน์ • การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ การท่องเที่ยวเชิง • การเรียนรู้ การท่องเที่ยวเชิงศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขนและการ กำขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เช่น การรณรงค์ลดอัตราการเกิดขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บรวบรวมขยะ สถานที่กำจัดขยะ การเฝ้า ระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม การจัดเก็บค่า ธรรมเนียม
ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น • - การดูแล รักษา อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น • ส่งเสริมวิถีชีวิต ศาสนาและประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น • ส่งเสริมจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรมอันดีงามของครอบครัว
กรอบความคิดเมืองน่าอยู่/ชุมชนน่าอยู่กรอบความคิดเมืองน่าอยู่/ชุมชนน่าอยู่ • มิติเมืองปลอดภัย • มิติเมืองสะอาด • มิติเมืองคุณภาพชีวิต • มิติเมืองธรรมาภิบาล • มิติเมืองวัฒนธรรม
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ • มิติเมืองปลอดภัย ๑.๑ ภัยอาชญากรรม ๑.๒ ภัยยาเสพติด ๑.๓ ภัยจากอุบัติเหตุจราจร ๑.๔ สาธารณภัย
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๒. มิติเมืองสะอาด ๒.๑ ขยะ/สิ่งปฏิกูล ๒.๒ เหตุรำคาญ ๒.๓ น้ำ ๒.๔ มลทัศน์
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๓. มิติเมืองคุณภาพชีวิต ๓.๑ สุขภาพ ๓.๒ การศึกษา ๓.๓ เศรษฐกิจชุมชน
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๔. มิติเมืองธรรมาภิบาล ๔.๑ หลักนิติธรรม ๔.๒ ความโปร่งใส ๔.๓ การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของสังคม ๔.๔ สำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๕. มิติเมืองวัฒนธรรม ๕.๑ ประวัติศาสตร์เมือง ๕.๒ ขนบธรรเนียมประเพณี/วัฒนธรรม ๕.๓ ศิลปกรรม ๕.๔ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผลผลิต output ผลลัพธ์ outcome ผลกระทบ impact ผลสัมฤทธิ์ RB ผลจากการทำงาน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา • เป็นกระบวนการกำหนดทิศทางอนาคตของ อปท. • โดยกำหนด สภาพที่ต้องการบรรลุ และแนวทางใน การบรรลุสภาพดังกล่าว • บนพื้นฐานของการรรวบรวมข้อมูลอย่าง • รอบด้านทั้งมิติการพัฒนา และมิติเชิงพื้นที่ • เป็นระบบดำเนินการอย่าเป็นขั้นตอน
+ รอบด้าน
อย่างเป็นระบบ • การรวบรวมข้อมูลและปัญหาสำคัญ • การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของท้องถิ่นในปัจจุบัน และกำหนดประเด็นในการพัฒนา • การกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดจุดมุ่งหมายเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • การกำหนดวัตถุประสงค์การพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดยุทธศาสตร์และบูรณาการแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น • การอนุมัติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
เค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 สภาพทั่วไป+ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา ท้องถิ่น บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา บทที่ 5 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล
ข้อมูลด้าน...............................................ข้อมูลด้าน...............................................
1) ข้อมูลด้านคุณภาพชีวิต
1) ข้อมูลด้าน คุณภาพชีวิต (ต่อ)
ศักยภาพของท้องถิ่น คืออะไร • ต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรม • ต้นทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ • ต้นทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ต้นทุนด้านสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ • ต้นทุนทางด้านเทคโนโลยี และโครงสร้างพื้นฐาน “ที่จะสามารถนำมาพัฒนาให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้น”
ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น
ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น
ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น
การวิเคราะห์สถานการณ์ของท้องถิ่นการวิเคราะห์สถานการณ์ของท้องถิ่น ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง (Strengths) โอกาส (Opportunities) SWOT อุปสรรค (Threats) จุดอ่อน (Weaknesses)
การใช้วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์การใช้วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ ให้ใช้ขอบเขตพื้นที่ขององค์กร ที่รับผิดชอบเป็นหน่วยในการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน การใช้วิเคราะห์เชิงแผนงาน/โครงการ ให้ใช้ขอบเขตทรัพยากรในการบริหารจัดการขององค์กร ที่รับผิดชอบหรือควบคุมได้เป็นปัจจัยภายใน หลักการใช้เทคนิคSWOT