300 likes | 747 Views
การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล. แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และ การประเมินผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔. ข้อมูลจาก www.oag.go.th : แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน.
E N D
การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผลการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และ การประเมินผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อมูลจาก www.oag.go.th : แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
การจัดวางระบบการควบคุมภายใน (ตามข้อ ๕) การติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน (ตามข้อ ๖)
การจัดวางระบบการควบคุมภายในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544ข้อ 5 “ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในโดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน ท้ายระเบียบนี้เป็นแนวทางให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ โดยอย่างน้อย ต้องแสดงข้อมูล ดังนี้ ฯลฯ”
ตัวอย่างสถานีตำรวจ…...................... หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายในเรียน ผู้บังคับการ........................................ (สถานีตำรวจ..........) …………………. ..………ขอรับรองว่า ได้จัดวางระบบการควบคุมภายใน แลนำมาใช้สำหรับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินการของ…………………..จะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิภาพการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการรักษาทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริต ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายซึ่งรวมถึงการปฏิบัติงานตามระเบียบของฝ่ายบริหาร ทั้งนี้ ………………………จะกำหนดให้มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในที่นำมาใช้ในปัจจุบัน เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิผลและเพียงพอ ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๖ ต่อไป พ.ต.อ. ( )ผู้กำกับการ........................... ๓๐กันยายน ..............
การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544ข้อ 6 กำหนดให้ผู้รับตรวจรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)กำกับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) ทำความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐาน ตามระเบียบฯ (ปอ. 1,ปส. ) (2) รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประเมิน แต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ (ปอ. 2 ,ปย.1) (3) จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบ การควบคุมภายใน (ปอ. 3,ปย.2)
การรายงานตามระเบียบ ฯ ข้อ 6 ระดับหน่วยงานย่อย - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 1 - รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 2 ระดับองค์กร - หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 1 - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 2 - รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 3 ผู้ตรวจสอบภายใน - รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน - แบบ ปส.
ขั้นตอน ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน ๒. คณะกรรมการหรือคณะทำงานรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน/แผนก - สภาพแวดล้อม - ปัญหาจากการปฏิบัติงานด้านต่างๆ โดยใช้แบบสอบทานระบบการควบคุมภายในและเกิดจากการปฏิบัติงานจริง - ผลการดำเนินการตามรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย. 2) ของปีก่อน
ขั้นตอน (ต่อ) - ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงทั้งประเภทโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดแต่ละสายงาน - ความเสี่ยงแต่ละกิจกรรมเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง ๓. คณะกรรมการ/คณะทำงานจัดประชุม - ทบทวนระบบการควบคุมภายใน - กำหนดเกณฑ์ความเสี่ยงแต่ละสายงาน - วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยการประเมินและจัดลำดับความเสี่ยง
ขั้นตอน (ต่อ) - ๔. ประเมินองค์ประกอบควบคุมภายใน จัดทำ ปย.๑ ๕. จัดทำ ปย.๒ ๖. จัดส่งรายงาน (ปย.๑ – ๒) ต่อหน่วยงานต้นสังกัด
การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. 6 ขั้นตอนการจัดทำรายงานตามระเบียบฯ คตง. ปส. ส่ง สตง. ภายใน 30 ธ.ค. 5 ปอ.1 ระหว่างปี ติดตาม ส่งคตป. (พค.) สิ้นปี ปอ.1 ปอ.2 ปอ.3 ปส. กราบเรียน นายก ส่งสตง., คตป. ( ธ.ค.) 3 ปอ.2 ปอ.3 4 ปย.2 2 จุดอ่อนของ การควบคุมภายใน 1 ปย.1 แบบประเมินองค์ประกอบ การควบคุมภายใน ปย.2 งวดก่อน
สำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ปอ.1,ปอ2 และปอ.3 • กราบเรียนนายกฯ • ส่ง ค.ต.ป. • สตง. (ปอ.1) เจ้าหน้าที่อาวุโสหรือคณะกรรมการ ปส. บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1/ ปย2 บช.? ปย1/ ปย2 บก./ภ.จว. ปย1/ปย2 กก./งาน ปย1/ปย2 6
ขั้นที่ ๑ ขั้นที่ ๒ ปย.๑(หน่วยงานในสังกัด) ประเมิน ๕ องค์ประกอบ ปย. ๒(หน่วยงานในสังกัด) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ขั้นที่ ๓ ขั้นที่ ๔ ปย.๒ (บช.หรือเทียบเท่า/บก.หรือเทียบเท่า) และประเมินกระบวนการปฏิบัติงานเพิ่มเติม ปย. ๑ (บช.หรือเทียบเท่า/บก.หรือเทียบเท่า) ประเมิน ๕ องค์ประกอบเพิ่มเติม ขั้นที่ ๕ รายงาน ตร.(ผ่าน สตส./สยศ(ยศ.)) ตามแบบ ปย.๑ และ ปย.๒ 5
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อยขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (ปย.1)
การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล สารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมการควบคุม องค์ประกอบการควบคุมภายใน
รายงานระดับส่วนงานย่อย องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 1.1...................................................... 1.2...................................................... 2. การประเมินความเสี่ยง 2.1..................................................... 2.2..................................................... 3. กิจการรมการควบคุม 3.1..................................................... 3.2..................................................... 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 4.1..................................................... 4.2..................................................... 5. การติดตามประเมินผล 5.1...................................................... 5.2...................................................... แบบ ปย.๑ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ปย.1) ๑ ใช้แบบประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน ผลการประเมินโดยรวม ....................................................................................................................................................................................
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อยขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายในงวดใหม่ รายงานการประเมินและการปรับปรุง การควบคุมภายในงวดก่อน (ปย.2 งวดก่อน) และจุดอ่อนการควบคุมที่อยู่ใน ปย.1 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุง การควบคุมภายใน (ปย.2)
รายงานระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย.2 2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2) ใช้แบบสอบถาม การควบคุมภายใน เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน ทุกภารกิจในหน่วยงาน
มีการกำหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบตามคำอธิบาย ตำแหน่งงาน เป็นลายลักษณ์อักษร นำไปประเมินความเพียงพอ ของการควบคุมภายในของกิจกรรมนี้ x
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลของงวดก่อนและการปรับปรุงการควบคุมภายในงวดใหม่ องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของ การควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจการรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ปย. 2งวดก่อน ปย. 1 ปย. 2 (ปีถัดไป) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อเท็จจริง โดยใช้เทคนิคการประเมินผล เช่น แบบสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตการณ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การระดมความคิด การจัดทำแผนภาพ เป็นต้น
การประเมินความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 ส ม ม ม ม ความเสี่ยงสูงมาก ม 4 ส ส ส ม ม ความเสี่ยงสูง ผลกระทบของความเสี่ยง ส 3 ก ก ส ส ม ความเสี่ยงปานกลาง ก 2 ต ก ก ส ส ความเสี่ยงต่ำ ต 1 ต ก ก ส ต 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
กิจกรรมการควบคุม ข้อควรพิจารณา • ต้องสามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ • ต้องปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม • ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต้องไม่สูงกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับจากความเสียหายที่เกิดขึ้น • มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ ว่า กิจกรรมการควบคุมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ