540 likes | 760 Views
การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -. โดย นายคาโอรุ อิโนอุเอะ ผู้แทนบริษัท เอ ไอซี สำนักงาน กรุงเทพฯ. แนะนำตัว. อาชีพ : มีนาคม 2550 - ผู้แทนบริษัท AIC สำนักงานกรุงเทพฯ พฤศจิกายน 2547 - มีนาคม 2550 ผู้ซื้อสินค้านำเข้า (buyer)
E N D
การส่งออกสู่ญี่ปุ่น-ความสำคัญของเวลาและคุณภาพ - โดย นายคาโอรุ อิโนอุเอะ ผู้แทนบริษัท เอ ไอซี สำนักงาน กรุงเทพฯ
แนะนำตัว อาชีพ: • มีนาคม 2550 - ผู้แทนบริษัท AIC สำนักงานกรุงเทพฯ • พฤศจิกายน 2547- มีนาคม 2550 ผู้ซื้อสินค้านำเข้า (buyer) บริษัท AIC จำกัด ประสบการณ์ - ระบบคุณภาพ HACCP/SQF 2000/EU Gap training course Certification -Vegetable & Fruits Meister certification ความรับผิดชอบ ชำนาญด้านการตลาดและการกระจายสินค้า
หัวข้อ • ตอนที่ 1 : ญี่ปุ่นและการกระจายสินค้า • ตอนที่ 2 : ผลไม้นำเข้า • ตอนที่ 3: ปัจจัยสู่ความสำเร็จ - ความพอใจของลูกค้า - • ตอนที่ 4- มุมมองของผู้ซื้อ
ตอนที่ 1 ที่ตั้งและระยะทางสู่ญี่ปุ่น • ระยะทาง 2,868 ไมล์ • ทางเรือ 7 ถึง10 วัน • ทางอากาศ : 6 ถึง 7 ชั่วโมง • เวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตอนที่ 1 Age 14-64 Age over 65 Age under 14 Age 0-14 Age 15-64 Age over 65 สถิติที่สำคัญ① (1) อัตราการเพิ่มของผู้สูงอายุและการลดการเกิด Thousand Thousand 2008 ประชากรที่อายุมากกว่า 65 มีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.2% ในปี 2553 จะเพิ่มเป็น 23.1%
ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางอากาศ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 10 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค
ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางเรือ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 20 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค
ตอนที่ 1 ต้องคำนึงถึงช่วงเวลาในการส่ง สินค้าถึงผู้บริโภคในญี่ปุ่น การควบคุมความสุก ในแต่ละสภาวะการขนส่ง สรุปตอนที่ 1
ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก ปริมาณการนำเข้า การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น แนวโน้มการนำเข้าผลไม้
ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก① มะม่วงของประเทศไทย6.4% ・ประเทศอินเดียผลิตมะม่วงปริมาณมากเป็นอันดับหนึ่ง *ประเทศไทยมีสัดส่วนปริมาณมะม่วงร้อยละ 6.4 ของตลาดโลก
ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก② ・ปริมาณมะม่วงโดยรวม 28,000,000 ล้านตัน ・ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นในทุกปี
ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงนำเข้าญี่ปุ่น Unit: Mt *ปี 2550 ญี่ปุ่นมีปริมาณนำเข้ามะม่วงเพิ่มขึ้นร้อยละ 150
ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงนำเข้าของญี่ปุ่น
ตอนที่ 2 ปริมาณการนำเข้ามะม่วงสดและ มะม่วงแช่แข็ง Unit: Mt ・การนำเข้ามะม่วงสดและมะม่วงแช่แข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ตอนที่ 2 ดูกราฟเส้นรูปกล้วยหอม- การบริโภคผลไม้สดเพียง 114 กรัม ต่อคน ต่อวัน ในปี 2547 ปริมาณการซื้อของครัวเรือนญี่ปุ่น ลดลงร้อยละ 28 การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น ลดลง อย่างมาก การบริโภค การซื้อต่อครอบครัว 2523 2535 2547
ตอนที่ 2 ปริมาณนำเข้าเพิ่มขึ้น 5 เท่าจาก 30 ปีที่ผ่านมา ปริมาณนำเข้าเพิ่มถึง 550 ล้านตัน สัดส่วนผลไม้นำเข้า 60%. *สัดส่วนผลไม้ในประเทศ เพียง 40% สัดส่วนของผลไม้นำเข้า Unit:1000Mt Unit:% Imported fruits Share of it 1965 2005
ตอนที่ 2 มูลค่าและปริมาณการบริโภคผลไม้ของญี่ปุ่น
ตอนที่ 2 การบริโภคผลไม้ ปริมาณ: 10 กก. ต่อครอบครัว ต่อปี ( 3-6 คน) • ค่าใช้จ่าย: 40,000 เยน ≒14,500 บาทต่อครอบครัว ต่อปี เฉลี่ยการซื้อต่อผลเพียง 141 เยน *ในซุปเปอร์มาร์เกต • แนวโน้ม: *ลดลงในแต่ละปี *ถูกแทนที่ด้วยน้ำผลไม้สด ผลิตภัณฑ์แปรรูป และขนมหวาน‘’Sweets” *ลดการจ่าย เนื่องจากค่าครองชีพสูงขึ้น
ตอนที่ 2 ความถี่ของการบริโภคมะม่วง① 2005 2001 ・ความถี่ของการบริโภคมะม่วง เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า
ตอนที่ 2 ความถี่ของการบริโภคมะม่วงในแต่ละวัย ② 1. ผู้บริโภควัย 50 ปี ซื้อมะม่วงบ่อยที่สุด 2. ผลไม้เมืองร้อนได้รับความสนใจจากวัยหนุ่มสาว
ตอนที่ 2 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะม่วง ซอสผลไม้ • ของหวาน • ซอสผลไม้ • น้ำผลไม้ • พุดดิ้ง • ร้านขายผลไม้คุณภาพ • วัตถุดิบอาหารแปรรูป • นมเปรี้ยว • ไอสครีม • หวานเย็นรสผลไม้ • ผลไม้สด • ผลไม้แห้ง โยเกริต น้ำผลไม้
ตอนที่ 2 สรุปตอนที่ 2- มะม่วง ・ปริมาณนำเข้ามะม่วงเพิ่มขึ้น ในปี 2545นำเข้า 8,890 ล้านตัน ปี 2550 นำเข้า 13,293 ล้านตัน ・การบริโภคในรูปของหวานและขนม บ่อยครั้งขึ้น และการซื้อเพิ่มขึ้น ・การใช้มะม่วง ทำเป็นขนมเพิ่มขึ้น ・หลายประเทศขอให้ญี่ปุ่นเปิดตลาดผลไม้ มีโอกาสมากในการขยายตลาดมะม่วงในญี่ปุ่น
ตอนที่ 3 กุญแจแห่งความสำเร็จ-แง่การตลาด- • ความพอใจของลูกค้า • เสียงของลูกค้า • รูปลักษณ์ และการนำเสนอ (Appearance and presentation of character) • เรียนรู้การส่งเสริมการตลาดที่ดี
ตอนที่ 3 ความรู้สึกคาดหวังของลูกค้า รสชาติ:ความหวานเป็นสิ่งสำคัญ และเส้นใยน้อย ระดับราคา: สมเหตุผล เนื้อ: เมล็ดเล็ก เนื้อนุ่ม เสียง(บ่น) จากลูกค้า ปอก ตัด อย่างไร: ไม่เคยชิน ทำไม่ได้ เก็บอย่างไร:ไม่เคยชิน ทำไม่ถูก เมื่อไหร่จะสุกหรือกินได้: ยากที่จะรู้ ความพอใจของลูกค้าต่อผลไม้เมืองร้อน *จำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่ลูกค้าไม่พอใจ
จุดขายของผลไม้เมืองร้อนจุดขายของผลไม้เมืองร้อน ความคาดหวังผลไม้จากไทย – * [บรรยากาศไทยๆ หวานและสด] ฤดูกาล * ต้นฤดูใบไม้ผลิ (ปลายเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคม เป็นช่วงดีที่สุด) ซึ่งสามารถสร้างภาพลักษณ์ผลไม้ เมืองร้อนจากไทยได้ คู่แข่ง * ผลไม้เมืองร้อน – มะม่วงจากฟิลิปปินส์ เม็กซิโก อินเดียและไต้หวัน *ผลไม้นำเข้า –เกรปฟรุต ส้ม เชอรี่ จากสหรัฐฯ และกีวี จากนิวซีแลนด๋ *ขนมและของหวาน - น้ำผลไม้ ไอสครีม พุดดิ้ง โยเกริต หวานเย็นรสผลไม้ ฯลฯ ตอนที่ 3 แข่งขันในด้านคุณภาพ ราคา และด้วยส่วนเนื้อผลไม้
ความสด ราคา สี รูปลักษณ์ ตรงฤดูกาล แหล่งที่มา แหล่งผลิต ขนาด น้ำหนัก ความสุก ปลอดสารเคมี อินทรีย์ ตอนที่ 3 จุดขาย - สิ่งดึงดูด - เมื่อเลือกซื้อจะให้ความสำคัญว่า คุณค่าเหมาะสมกับ ราคาหรือความสด หรือไม่
ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า① • เพื่อแก้ปัญหาความไม่พอใจของผู้บริโภค • ให่ข้อมูลวิธีการปอก ตัด และการรับประทานแก่ผู้บริโภค
ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า② การควบคุมรูปลักษณ์ด้วยสี ・คิดว่าการจัดวางผลผลิตแบบใดสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อลูกค้า?
ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า③รูปลักษณ์ภายนอกและลักษณะผลสุก • คิดอย่างไรกับภาพลักษณ์มะม่วง 2 รูปด้านบน? • คุณคิดว่าลูกค้าญี่ปุ่นจะยอมรับรูปลักษณ์นี้ได้หรือไม่?
ตอนที่ 3 การส่งเสริมและนำเสนอ-มะม่วง- • นำเสนอ : วิธีการเก็บอย่างไร การตัด การรับประทาน
ตัวอย่างที่ดีในการส่งเสริมการขาย -ผลไม้ไต้หวัน- ตอนที่ 3 เผยแพร่ต่อสาธารณชน ดึงดูดด้วยรสชาติ ความสด สินค้าตามฤดูกาล โดยใช้สื่อต่างๆ ดารานักแสดงชื่อเสียงในกลุ่มวัยรุ่น
คาราวานการขาย โดยแจกชิม และปริมาณ นำแสดงเป็นจำนวนมาก ในซุปเปอร์มาร์เกต การส่งเสริมการตลาดที่ดี-ส้มจากสหรัฐฯ- ตอนที่ 3
การส่งเสริมการตลาดที่ดี -เชอรี่จากสหรัฐฯ- ตอนที่ 3 เชอรี่จากสหรัฐ ฯ ดึงดูดความสนใจได้มาก ทุกคนจำได้ว่าเมื่อใดถึงฤดูที่มีมากสุด
มุมมองของผู้จัดซื้อ (Buyer) สวน ความปลอดภัยอาหาร คุณภาพ การติดต่อตรง ราคา ตอนที่ 4
การจัดการ–Global Gap Standard- ระบบเกษตรที่ดีเหมาะสมสากล ความปลอดภัยอาหาร Food safety *เป็นไปตามมาตรฐานสารตกค้างของญี่ปุ่น *รัฐบาลไทยควบคุมการใช้สารเคมีสำหรับพืช แต่ฟาร์มข้างเคียงปลูกอีกพืช อาจเกิดปัญหาปนเปื้อนข้ามมา จากฟาร์มอื่นได้ *การป้องกันการปนเปื้อนข้ามจากฟาร์มใกล้เคียง และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน สวน ตอนที่ 4
สวน ห้ามการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อผลไม้ เพราะ มีสารเคมีเคลือบอยู่ ทำให้เกิดการปนเปื้อนได้ (FluorescentChemical) ตอนที่ 4 ตัวอย่างในการควบคุมสารเคมี ล็อคห้องเก็บสารเคมี ใช้ถุงคลุมทำด้วยกระดาษปลอดสาร
ที่สวน ตอนที่ 4 ตัวอย่างที่ไม่ดี สารเคมี ขยะ
ตัวอย่างที่ไม่ดี การทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่เรียบร้อย ที่สวน ตอนที่ 4
ตอนที่ 4 ที่สวน ในสวน เห็นชัดว่ามีการใช้สารเคมี อย่างแน่นอน
การป้องกันการปนเปื้อนข้ามสวนการป้องกันการปนเปื้อนข้ามสวน ตอนที่ 4 ที่สวน ปลูกแยก แบ่งแยกระยะ(5M) ข้าวโพดหวาน
สำคัญอันดับหนึ่ง‐ความปลอดภัยอาหารสำคัญอันดับหนึ่ง‐ความปลอดภัยอาหาร ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ความปลอดภัยอาหาร สุขอนามัยการผลิต การเกษตรที่เหมาะสม การควบคุมอันตรายต่อความปลอดภัยอาหารในกระบวนการผลิต: HACCP COC = Code of Conduct, การผลิตอย่างรับผิดชอบ การสืบย้อนกลับแหล่งที่มา การตรวจสอบโดยบุคคลที่สาม Certified by 3rd party ตอนที่ 4 มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ①
‐ความปลอดภัยอาหาร -การตรวจพบสารเคมีตกค้างม.ค. 2549 – ก.พ.2551 ตอนที่ 4
‐ความปลอดภัยอาหาร-การตรวจพบสารเตมีตกค้างม.ค. 2549 – ก.พ.2551 ตอนที่ 4 *พบในผักเป็นส่วนใหญ่ *การใช้สารเคมีไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้พบสารตกค้าง *แม้จะใช้อย่างถูกต้องอาจปนเปื้อนข้ามมาจากสวนอื่น
การป้องกัน บันทึกการพ่นยา ถ้าไม่มีบันทึก ผู้ซื้อไม่อยากซื้อ ติดตามข้อมูล มาตรฐานสารฯตกค้างของแต่ละประเทศ ใช้สารเคมีตามที่กำหนด เท่านั้น ก่อนและหลังเก็บ ต้องตรวจสารเคมี ตกค้างโดยใช้ 3rd party. ตอนที่ 4
สำคัญอันดับ 2 -คุณภาพ- ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ชนิด Variety ขนาด Size range ความสุก Matured การบรรจุ Packing ตอนที่ 4 มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer)②
ตอนที่ 4 มาตรฐานสี *เก็บที่ระดับสีไหน *อบไอน้ำเมื่อระดับสีใด *ขายให้ตลาดญี่ปุ่นที่ระดับสีไหน
อันดับ3 -ราคา- ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ราคา การส่งเสริมการขาย ความสม่ำเสมอของปริมาณ มีของตลอดปี ตอนที่ 4 มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer)③
การแข่งขันกับประเทศอื่น - มะม่วง ตอนที่ 4
การแข่งขันกับผลไม้อื่น ในเดือนมีนาคม– กรกฎาคม ตอนที่ 4 *One of Major chain Super market data ผลไม้เมืองร้อน&มะม่วง ผลไม้อื่น ๆ *ราคาปลีกเฉลี่ย ของผลไม้เมืองร้อน\338 ในปี2551 \329 ในปี2550 * ราคาปลีกเฉลี่ย ของมะม่วง\373 ในปี 2551\340ในปี 2550 * เฉลี่ยของเสียและทิ้ง 20%