530 likes | 675 Views
แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQF ต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ( TQF และ มคอ. ๑ มคอ. ๒). ประสาทพร สมิ ตะมาน ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ดัดแปลงจากเอกสารจาก มคอ. ๑ รศ. ดร. วิเชียร ชุติมาสกุล และ มคอ. ๒ รศ. ดร. สุคนธ์ชื่น ศรีงาม.
E N D
แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQFต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต(TQF และ มคอ. ๑ มคอ. ๒) ประสาทพร สมิตะมาน ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดัดแปลงจากเอกสารจาก มคอ. ๑ รศ. ดร. วิเชียร ชุติมาสกุล และ มคอ. ๒ รศ. ดร. สุคนธ์ชื่น ศรีงาม
มคอ. ๑มาตรฐานคุณวุฒิ สาขา/สาขาวิชา (TQF)
เนื้อหาการนำเสนอ • ขั้นตอนการพัฒนา มคอ.๑ • เนื้อหาสาระ มคอ. ๑ • มคอ ๒ • สรุปผลและประโยชน์ที่ได้รับ
1ขั้นตอน พัฒนา มคอ.๑ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา คุณภาพบัณฑิต การบริหารจัดการ การอุดมศึกษา การสร้างและพัฒนาสังคมฐาน ความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ.๑)
ประกาศ กกอ. เรื่องแนวทางปฏิบัติตามกรอบ TQF 2552 ข้อ ๒ให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการพัฒนา/ปรับละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒) ได้ ๒วิธี โดยใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ • เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ. ๑) • เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ.๑) • หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตในแต่ละคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชาหนึ่ง... เพื่อให้หลักประกันว่าบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ มีคุณภาพไม่น้อยกว่าที่กำหนด • สถาบันอุดมศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้อย่างอิสระ ตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของสถาบัน
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (มคอ.๑) • ให้มีการกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขาวิชา มีคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญในสาขา/สาขาวิชา ที่ได้รับมอบหมายจาก กกอ. • ต้องเป็นสากล และเป็นที่ยอมรับของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • เป็นประกาศกระทรวง ที่ให้แนวทางในการดำเนินการแก่สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนสาขา/สาขาวิชานั้นๆ
อุตสาหกรรมการเกษตร พยาบาล เทคโนโลยีชีวภาพ โลจิสติกส์ ท่องเที่ยวและการโรงแรม ครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ เคมี คอมพิวเตอร์ วิศวกรรม มคอ. ๑
ขั้นตอนการพัฒนา มคอ. ๑ • ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล:พรบ. การศึกษา มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพเป็นต้น • สร้างทีมและประชุมระดมสมองเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณวฒิ • จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อวิพากษ์มาตรฐานคุณวุฒิ • รับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติม • ปรับแก้เอกสารมคอ. ๑
กำหนดเนื้อหาสาระสำคัญของสาขา/สาขาวิชากำหนดเนื้อหาสาระสำคัญของสาขา/สาขาวิชา • ประกอบด้วยองค์ความรู้ที่ต้องการในรายวิชาที่กำหนดในหลักสูตร • เน้นให้รายวิชาที่กำหนดต้องครอบคลุมและสอดคล้องกับองค์ความรู้ ๕ ด้าน
กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน • การเรียนการสอนควรเป็นไปในลักษณะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ทำการทดลองปฏิบัติการจริงและมีโอกาสใช้เครื่องมือด้วยตนเอง • มอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง • การทำงานโครงงานกลุ่มหรือโครงงานเดี่ยวให้สามารถบูรณาการระบบและนำไปใช้งาน กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ • ตามรายละเอียดของหลักสูตร รายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) • ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานอุดมศึกษา เป็นต้น
มาตรฐานคุณวุฒิ • การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ • คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ • คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ • แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ • การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน • การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา.........สู่การปฏิบัติ • การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(การขึ้นทะเบียน)
การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 ๑ ชื่อสาขา/สาขาวิชา ๒ ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ๓ ลักษณะของสาขา/สาขาวิชา ๔ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ๕ มาตรฐานผลการเรียนรู้ ๖ องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ๗ โครงสร้างหลักสูตร ๘ เนื้อหาสาระสำคัญของสาขา/สาขาวิชา เพิ่มรายละเอียด ๙ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 ๑๐. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ๑๑. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ ๑๒. คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ๑๓. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ ๑๔. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ ๑๕. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ๑๖. การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาสู่การปฏิบัติ ๑๗. การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
เอกสารอื่นๆ ของมาตรฐานคุณวุฒิ • รายละเอียด / รายงานของหลักสูตร (มคอ. ๒ & ๗) • รายละเอียด / รายงานของรายวิชา (มคอ. ๓&๕) • รายละเอียด / รายงาน ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) (มคอ. ๔ &๖)
รายละเอียดหลักสูตร(มคอ.๒)รายละเอียดหลักสูตร(มคอ.๒)
แบบเดิม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes)คืออะไร? • ผลการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)คืออะไร?(ต่อ) • ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง • สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา • ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ • พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย • สกอ. กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน
กรอบการเรียนรู้ 5ด้าน(5 Domains of Learning) • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรกำหนดจากข้อมูลใด?ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรกำหนดจากข้อมูลใด? • สถานการณ์ภายนอก (เศรษฐกิจ/สังคม) • ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย • ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร • ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต • กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (ถ้ายังไม่มีมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา) • มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา ซึ่งรวมถึง • มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) • ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตในสาขาวิชา
การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ สู่หลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา หลักสูตร
การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้)จากกรอบมาตรฐานฯสู่หลักสูตร (ต่อ) กรอบมาตรฐานฯระดับชาติ มีความรู้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ รู้หลักและทฤษฏีที่สัมพันธ์กัน ตระหนักในความรู้และทฤษฏีในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่เป็นโปรแกรมวิชาชีพ จะต้องคุ้นเคยกับความก้าวหน้าทางวิชาการในสายความเชี่ยวชาญ รวมถึงงานวิจัยที่แก้ไขปัญหาและขยายความรู้ ต้องตระหนักถึงกฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิคที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้)จากกรอบมาตรฐานฯสู่หลักสูตร (ต่อ) มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา(มคอ.1) มีความรู้ในสาขาวิชา...........อย่างเป็นระบบ รวมทั้งหลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ตามกลุ่มเนื้อหาสาระต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ด้าน....... ๒. ด้าน ..... ฯลฯ
การบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิตการบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิต • การดำเนินการหลักสูตร • โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา • นักศึกษา ต้องคำนึงถึงคุณสมบัติที่ต้องการให้เหมาะสมกับหลักสูตร • ทรัพยากร (resources) • อาจารย์ • บุคลากรสนับสนุน • ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน • กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • การบริหารจัดการ และกำกับดูแล • การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข
การวางแผนหลักสูตร • กำหนดผลการเรียนรู้ ทั้ง ๕ด้าน (บางสาขาสามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม) • กำหนดโครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา • กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้สู่รายวิชา • กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับการเรียนรู้แต่ละด้าน • กำหนดการติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ประเมินผลการดำเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร • การบริหารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน • กำหนดการทบทวนผลการดำเนินการและแก้ไขปรับปรุง
เอกสารที่ต้องจัดทำหลังการวางแผนหลักสูตรเอกสารที่ต้องจัดทำหลังการวางแผนหลักสูตร • รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒) • รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. ๓) • รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.๔) เอกสาร มคอ.๒ ใช้แทนเอกสารหลักสูตร อนุมัติโดยสภาสถาบัน และเสนอ สกอ.รับทราบภายใน ๓๐วัน เอกสาร มคอ. ๓และ มคอ. ๔เป็นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ
รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) • การอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งถ่ายทอดมาจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือจากมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (ถ้ามี) • ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ต้องครบถ้วนทั้ง ๕ด้านและไม่ต่ำกว่า มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา =มคอ.๑(ถ้ามี)
รายละเอียดหลักสูตร ต่างจาก เอกสารหลักสูตรเดิม อย่างไร? • คงข้อความของเอกสารหลักสูตรเดิม และแบบ สมอ.๐๑-๐๖(การวิเคราะห์หลักสูตร) • เพิ่มเติมเรื่องผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผล การทวนสอบผลการเรียนรู้ การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร การประกันคุณภาพ กระบวนการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร • ข้อมูลแบ่งเป็น ๘หมวดหมู่
ส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตรส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตร หมวดที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ ๓. ระบบการจัดการศึกษา การ ดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร หมวดที่๔ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ หมวดที่๕. หลักเกณฑ์ในการประเมินผล หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่๘.การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการหลักสูตร
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป • รหัสและชื่อหลักสูตร • ชื่อปริญญาและสาขาวิชา • วิชาเอก(ถ้ามี) • จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร • รูปแบบของหลักสูตร • รูปแบบ • ภาษาที่ใช้ • การรับเข้าศึกษา • ความร่วมมือกับสถาบันอื่น • การใช้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) ๖.สถานภาพของหลักสูตร ๗. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๘. อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ๙.ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (จะให้หรือไม่) ๑๐. สถานที่จัดการเรียนการสอน (กรณีที่มีหลายวิทยาเขต)
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) • สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร • สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ • สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม • ผลกระทบจากข้อ ๑๑ • การพัฒนาหลักสูตร • ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน • ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นในสถาบัน
หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร • ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร • แผนพัฒนาปรับปรุง • แผนการพัฒนา / การเปลี่ยนแปลง • กลยุทธ์ • หลักฐาน / ตัวชี้วัด
หมวดที่ ๓ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร • ระบบการจัดการศึกษา • ระบบ • การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน • การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค • การดำเนินการหลักสูตร • วัน-เวลาในการดำเนินการการเรียนการสอน • คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
หมวดที่๓ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร ๒. การดำเนินการหลักสูตร(ต่อ) • ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า • กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนักศึกษา • แผนการรับนักศึกษาและจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5ปี • งบประมาณตามแผน • ระบบการศึกษา • การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา และการลงทะเบียนข้ามสถาบัน
หมวดที่ ๓ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร(ต่อ) • หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน • หลักสูตร • จำนวนหน่วยกิต • โครงสร้างหลักสูตร • รายวิชา • แผนการศึกษา • คำอธิบายรายวิชา • ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประจำตัวประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิ • อาจารย์ประจำหลักสูตร • อาจารย์ประจำ • อาจารย์พิเศษ
หมวดที่ ๓ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร(ต่อ) • องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม • มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม • ช่วงเวลา • การจัดเวลาและตารางสอน • ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย • คำอธิบายโดยย่อ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ • ช่วงเวลา • จำนวนหน่วยกิต • การเตรียมการ • กระบวนการประเมินผล
หมวดที่ ๔. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล • การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา • การพัฒนาผลการเรียนรู้แต่ละด้าน • ผลการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา • กลยุทธ์การสอน • กลยุทธ์การประเมินผล • แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)
หมวดที่ ๕. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา • กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) • กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร
หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์ • การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ • การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ • การพัฒนาทักษะการจัดการการเรียนการสอน • การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพอื่นๆ
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร • การบริหารหลักสูตร • การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน • การบริหารงบประมาณ • ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม • การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม • การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) • การบริหารคณาจารย์ • การรับอาจารย์ใหม่ • การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตาม และทบทวนหลักสูตร • การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) • การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • การเพิ่มทักษะความรู้สำหรับการปฏิบัติงาน
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) • การสนับสนุนและให้คำแนะนำแก่นักศึกษา • การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา • การอุทธรณ์ของนักศึกษา
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) • ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต • ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
หมวดที่ ๘. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร • การประเมินประสิทธิผลของการสอน • การประเมินกลยุทธ์การสอน • การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้กลยุทธ์การสอน • การประเมินหลักสูตรในภาพรวม • การประเมินผลการดำเนินงานตามที่กำหนดในรายละเอียดหลักสูตร • การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
บทสรุป • รายละเอียดหลักสูตร • เป็นส่วนหนึ่งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของชาติและมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี) • เป็นแผนการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วม • เป็นคำมั่นสัญญาที่สถาบันการศึกษาให้กับสังคม