430 likes | 627 Views
โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน. โครงการสินเชื่อ เพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน. ทรงศักดิ์ วงศ์ภูมิวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร. เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย :. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารออมสิน
E N D
โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ทรงศักดิ์ วงศ์ภูมิวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย : • กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ธนาคารออมสิน • มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เจตนารมณ์ • เพื่อร่วมกันพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ผ่านการเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาศักยภาพ • ขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนที่สอดคล้องกับความต้องการของวิสาหกิจชุมชน
วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมความเข้มแข็งวิสาหกิจชุมชนในการประกอบกิจการ 2. สนับสนุนสินเชื่อ หรือเงินทุนประกอบการ 3. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
เป้าหมาย • วิสาหกิจชุมชน • ดำเนินการ 3 ปี • ปี 2550 2,000 วิสาหกิจชุมชน • ปี 2551 3,000 วิสาหกิจชุมชน • ปี 2552 4,000 วิสาหกิจชุมชน
หลักการ 1. สมาชิกวิสาหกิจชุมชนต้องมีปณิธาน : ลดรายจ่าย- เพิ่มรายได้-อดออม ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”2. หน่วยงานภาคี 3 ฝ่าย ร่วมมือกันพัฒนา/เสริมสร้าง ศักยภาพวิสาหกิจชุมชน3. ธนาคารออมสิน ให้การสนับสนุนสินเชื่อ หรือ เงินทุนประกอบการ
ประโยชน์ที่ได้รับ • วิสาหกิจชุมชน / จนท. ได้ร่วมกันศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง • วิสาหกิจชุมชนได้รับโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน • วิสาหกิจชุมชนบริหารจัดการโครงการ/กิจกรรม ด้วยตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • จนท. ได้รับการพัฒนาความรู้และกระบวนการทำงานร่วมกันเป็นทีม • เกิดเครือข่ายการทำงานร่วมกัน
บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตรบทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร กรม : • วางรูปแบบโครงการ • สนับสนุนเครื่องมือและงบประมาณ • สนับสนุนวิชาการ • ติดตาม นิเทศ ประเมินผล • สรุปบทเรียน
บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) เขต : • ติดตามนิเทศ ประเมินผลการดำเนินงาน ของจังหวัดในความรับผิดชอบ • สนับสนุนวิชาการ
บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) จังหวัด : • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับออมสินสาขาจังหวัด • ประกาศรับสมัครวิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมโครงการฯ • จัดกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ให้แก่วิสาหกิจชุมชน / จนท.อำเภอ (เกษตร และออมสิน) • สรุปรายชื่อ/ที่อยู่ วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ส่งกรมฯ และสำเนาส่งเขต • ติดตามนิเทศ การดำเนินงานของอำเภอ
บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) อำเภอ : • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับออมสินสาขาพื้นที่ • รับสมัคร และตรวจสอบคุณสมบัติ • เป็นพี่เลี้ยงศึกษาเรียนรู้ร่วมกับวิสาหกิจชุมชน • เพื่อทำกิจกรรม/โครงการของวิสาหกิจชุมชน • สรุปรายชื่อ ที่อยู่ วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ส่งจังหวัด / ออมสินสาขาที่วิสาหกิจชุมชนสมัครเป็นสมาชิก สพช. • ติดตามนิเทศ การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน
บทบาทของธนาคารออมสิน เป็นสถาบันการเงินหลักของวิสาหกิจชุมชน โดยส่งเสริมการออมเพื่อเสริมสร้างวินัยทางการเงินในชุมชน รวมทั้งการให้สินเชื่ออย่างสร้างสรรค์แก่วิสาหกิจชุมชนเพื่อให้มีโอกาสดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืนรวมทั้งบริการทางการเงินอื่นๆ ตามความต้องการของวิสาหกิจชุมชนอย่างครบวงจร ควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
บทบาทของธนาคารออมสิน (ต่อ) • สนับสนุนงบประมาณ • สนับสนุนด้านวิชาการ ติดตามและประเมินผล • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับ เจ้าหน้าที่เกษตรในพื้นที่
มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี วิเชียร ศรีลูกหว้า ผู้อำนวยการมูลนิธิฯ
บทบาทมูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯบทบาทมูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯ • ประสานงานกลาง / ให้คำปรึกษาการจัดการและ การบริหารโครงการฯ • ฝึกอบรม SEAL(Sufficiency Economy Active Learning) • เตรียมการJAEC เพื่อเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • ประสานสำนักพระราชวัง เพื่อขอรับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพฯ
ขั้นตอนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนขั้นตอนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ลงนาม MOU : 19 มีนาคม 2550 พัฒนาโครงการ: มีค. – เมย. 50 ประชุมชี้แจงโครงการและประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ เมย. 50 • - ประชาสัมพันธ์โครงการ ตั้งแต่ เมย. 50 • - ประชุมชี้แจงโครงการฯ 2 พค. 50 สนง.กษอ รับสมัครวิสาหกิจชุมชน พค. – มิย. 50 - ผลิตคู่มือ/สื่อเรียนรู้ เมย. – มิย. 50 - ประชุมชี้แจงทีมวิทยากรจังหวัด กค. 50 - ทีมจังหวัดพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน ของ ทีมอำเภอ กค. 50 - ทีมอำเภอสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนจัดทำ โครงการ (ขอรับสินเชื่อ / ไม่ขอรับสินเชื่อ) กค. – กย. 50 พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน เมย. – มิย. 50 ออมสิน ตรวจสอบวิเคราะห์ / อนุมัติสินเชื่อ 2550 - 2552 ติดตามนิเทศ/ ประเมินผล :กค. – ธค. 50 สรุปบทเรียน :มค. 51
กิจกรรมที่ 1การประชาสัมพันธ์ 1. ประชุมชี้แจงการบริหารจัดการโครงการฯ2. ผลิตคู่มือ / สื่อ3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ
กิจกรรมที่ 2 การรับสมัคร • สำนักงานเกษตรจังหวัดประกาศรับสมัครวิสาหกิจชุมชน- วิสาหกิจชุมชนกรอกใบสมัคร- สำนักงานเกษตรอำเภอรับสมัคร / ตรวจสอบคุณสมบัติ- สำนักงานเกษตรอำเภอสรุปรายชื่อ / ที่อยู่วิสาหกิจชุมชน ส่งสำนักงานเกษตรจังหวัด และออมสินสาขาที่วิสาหกิจ ชุมชน สมัครเป็นสมาชิก สพช. ทุกวันที่ 25- สำนักงานเกษตรจังหวัดสรุปรายชื่อ / ที่อยู่วิสาหกิจชุมชน ส่งกรมส่งเสริมการเกษตร และสำเนาส่งเขตทุกวันที่ 30
กิจกรรมที่ 2 การรับสมัคร
กิจกรรมที่ 3การพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ • จัดทำคู่มือ / สื่อเรียนรู้ประชุมชี้แจงกระบวนการพัฒนาฯการพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ การศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง ในการดำเนิน โครงการ/ กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ “ทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด” - เจ้าหน้าที่จังหวัด / อำเภอ / ออมสิน รวม 5 คน - เป็นวิทยากร - ทำงานเป็นทีม
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ “ทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด” ดำเนินการพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงานฯ ให้แก่ - ผู้แทนวิสาหกิจชุมชน - เกษตรอำเภอ - จนท. ส่งเสริมการเกษตร - จนท. ออมสินสาขา
การศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชนการศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน จนท. ส่งเสริมการเกษตร และออมสินสาขาพื้นที่ จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนจัดทำโครงการ/กิจกรรม
กิจกรรมที่ 4การตรวจสอบ วิเคราะห์ อนุมัติสินเชื่อ ภารกิจของธนาคารออมสิน ให้การสนับสนุนสินเชื่อ หรือเงินทุนประกอบการอย่างสร้างสรรค์ ควบคู่กับการพัฒนาบริการทางการเงิน ให้สนองความต้องการวิสาหกิจชุมชนอย่างครบวงจร
การให้บริการทางการเงินการให้บริการทางการเงิน สินเชื่อเพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ธนาคารออมสินได้พัฒนาธุรกิจสินเชื่อ เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าวิสาหกิจชุมชน โดยตรงตามคำสั่งธนาคารออมสินที่ 61/49 ลงวันที่ 19 กันยายน 2549
คุณสมบัติของผู้กู้ • เป็นวิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 • เป็นสมาชิกโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท(สพช.) ของธนาคารออมสิน • เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
วัตถุประสงค์การกู้ • ปรับปรุงหรือขยายกิจกรรมที่ทำอยู่เดิม • ลงทุนใหม่ในกิจกรรมเพื่อการผลิตหรือการค้า • ลงทุนในสาธารณะประโยชน์ และมีแผนการจัดเก็บเงินเพื่อใช้คืนเงินกู้ • เป็นเงินทุนหมุนเวียนที่เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มหรือ สมาชิก
จำนวนเงินกู้ ไม่เกิน 500,000 บาท พิจารณาตามแผนงาน หรือโครงการ และความสามารถในการชำระคืน ระยะเวลาชำระเงินกู้ ไม่เกิน 5 ปี โดยชำระเป็นงวดรายเดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 6 เดือน หรือรายปี ตามความสามารถหรือลักษณะกิจกรรมของกลุ่ม
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ • ตามประกาศธนาคาร ปัจจุบันอัตราร้อยละ 6 ต่อปี หลักประกันเงินกู้ • ใช้บุคคลค้ำประกัน
วิธีดำเนินการ 1. สมัครเป็นสมาชิก สพช. (สพช. 101) ที่ธนาคารออมสินสาขา ที่ใกล้กับกลุ่มพร้อมทั้งเอกสารประกอบ ดังนี้ - รายชื่อคณะกรรมการบริหาร พร้อมระบุตำแหน่งของแต่ละคน - มติที่ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และผู้มีอำนาจ ในการสั่งจ่ายเงินจากบัญชีกลุ่ม - สำเนาบันทึกรายงานการประชุมเห็นชอบให้สมัครเป็นสมาชิก สพช. - รายชื่อสมาชิก - เอกสารแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน
วิธีดำเนินการ (ต่อ) 2. ยื่นแบบคำขอกู้ (สพช. 102) และเอกสารประกอบการ ขอกู้เงิน ดังนี้ • มติการประชุมเรื่องการขอกู้เงินจากโครงการสินเชื่อเพื่อ พัฒนาชนบทธนาคารออมสิน • งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน, งบดุล(ถ้ามี) • สำเนารายงานยอดเงินฝากธนาคาร • ผลการดำเนินกิจการของกลุ่มด้านการพัฒนาชนบท อย่างน้อย 6 เดือน (ถ้ามี)
วิธีดำเนินการ (ต่อ) - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของคณะกรรมการ - สำเนาทะเบียนบ้านของคณะกรรมการ - สำเนาโฉนดที่ดิน หรือน.ส. 3 ก (กรณีใช้ที่ดิน ค้ำประกัน) - แผนผังที่ตั้งโครงการ และหรือที่ดินที่นำมาจำนอง
วิธีดำเนินการ (ต่อ) 3 .ธนาคารพิจารณาวงเงินให้กู้ตามแผนงาน หรือ โครงการ รวมทั้งความสามารถในการชำระคืนตามความเหมาะสม และไม่เกินความสามารถในการบริหารของกลุ่ม สถานที่ดำเนินการ ธนาคารออมสินสาขาทุกสาขาทั่วประเทศ
กิจกรรมที่ 5การติดตาม นิเทศ ประเมินผล 1. เพื่อให้มีการนำโครงการ/กิจกรรมของวิสาหกิจชุมชน และประเด็นความต้องการพัฒนาตนเองของวิสาหกิจชุมชน ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 2. เพื่อสนับสนุนด้านวิชาการและการบริหารจัดการโครงการ แก่วิสาหกิจชุมชนและเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ 3. เพื่อรับทราบและรวบรวมปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมและหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน
กิจกรรมที่ 5การติดตาม นิเทศ ประเมินผล - กรมส่งเสริมการเกษตร - ธนาคารออมสิน - มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯดำเนินการ ติดตามนิเทศในทุกระดับ
กิจกรรมที่ 6การสรุปบทเรียน 1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน ปี 2550 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปพัฒนา และปรับปรุงการดำเนินงานโครงการในระยะต่อไป
กิจกรรมที่ 6การสรุปบทเรียน จัดประชุมทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด รับฟังความคิดเห็น และสรุปบทเรียนร่วมกัน
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ที่หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ที่ 1. กรมส่งเสริมการเกษตร โทร. 0-2955-1594 2. ธนาคารออมสิน โทร. 0-2299-8000 ต่อ 101003-9 3. มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯ โทร. 0-2561-0944