190 likes | 337 Views
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย. โดย นายราเชนทร์ พจนสุนทร รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ 16 มีนาคม 2555. Overview. 1. 2. 3. ไทยได้ดุลการค้ามาตลอด ยกเว้นปี 2540 , 2548 และ 2551. ล้านเหรียญสหรัฐ. ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย. ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555
E N D
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย โดย นายราเชนทร์ พจนสุนทร รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ 16 มีนาคม 2555
Overview 1 2 3
ไทยได้ดุลการค้ามาตลอดไทยได้ดุลการค้ามาตลอด ยกเว้นปี 2540, 2548 และ 2551 ล้านเหรียญสหรัฐ ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 • GDP ขยายตัวร้อยละ 5.5 - 6.5 • การส่งออกขยายตัวที่ร้อยละ 15 • ตลาด ASEAN ขยายตัวร้อยละ 15.6 • เงินเฟ้อที่ระดับร้อยละ 3.3 - 3.8 - ธนาคารโลกคาดการณ์ขยายตัวของ เศรษฐกิจโลกที่ร้อยละ 2.5 ข้อมูล: - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมฯ - กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ 56% 47% ล้านเหรียญสหรัฐ
ตลาดขนาดใหญ่ • ASEAN +6…. • Half of World Population • 28% of world’s GDP (2011) with 31% upward trend in 2015 • Account for 24% of world net FDI ASEAN+ 3 50% ASEAN+ 6 56% ที่มา :Population by the World Bank , GDP forecast by IMF, FDI (net inflows) by the World Bank Thailand Trade by Ministry of Commerce and Customs Department
เทียบกับอาเซียน ไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ: ไทยกับอาเซียน • รายได้ต่อหัว: 1. สิงคโปร์ (50,795 USD) 2. บรูไน (48,194 USD) 3. มาเลเซีย (13,493 USD)4. ไทย (8,056 USD) • การใช้จ่ายเพื่อบริโภค: 1. ฟิลิปปินส์ (74% ของ GDP) 2. เวียดนาม (67%) 3. อินโดนีเซีย (59%)4. ไทย (55%) • ตลาดท่องเที่ยว: 1. มาเลเซีย (22 ล้านคน)2. ไทย (14 ล้านคน) 3. สิงคโปร์ (7 ล้านคน) 4. อินโดนีเซีย (6 ล้านคน) • ปัจจัยที่เอื้อต่อการลงทุน • คุณภาพคน(จากสูงสุด): 1. สิงคโปร์ 2. บรูไน 3. มาเลเซีย 4. ไทย • ต้นทุนการทำธุรกิจ (จากต่ำสุด): 1. สิงคโปร์ (0.7% ของ GNI per capita) 2. ไทย (6.3%) 3. บรูไน (9.8%) 4. มาเลเซีย (11.9%) • เวลาในการจัดตั้งธุรกิจ (จากน้อยสุด) 1. สิงคโปร์ (3 วัน) 2. มาเลเซีย (11 วัน) 3. ไทย (32 วัน) 4. เวียดนาม (50 วัน)
AEC ข้อตกลงทางการค้าและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี E-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ออกไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ปี 2558 (2015) 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต/จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน
ปี 2558 ข้อตกลงทางการค้าและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความตกลงเขตการค้าเสรี: FTA ที่?ที่มีผลบังคับใช้แล้ว 1. เพื่อทำให้ภาคการส่งออกขยายตัว * เปิดตลาดสินค้า -- ลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 * เปิดตลาดบริการ -- มีการขยายตลาด/บริการ และ การลงทุนในธุรกิจบริการ 2. ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ 3. เพื่อหาแหล่งเงินทุน และแหล่งออกไปลงทุน 4. เพื่อหาแหล่งวัตถุดิบ 5. เพื่อหาแรงงานในสาขาที่ขาดแคลน 6. เพื่อหาแนวทางพัฒนาบุคลากร และเทคโนโลยี ฯลฯ 1. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน AFTA 2. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น JTEPA 3. ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย TAFTA 4. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน ACFTA 5. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น AJCEP 6. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้ AKFTA 7. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย AIFTA 8. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ AANZFTA 9. โครงการเก็บเกี่ยวล่วงหน้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี ไทย-อินเดีย TIFTA
ธุรกิจบริการของไทย - รายได้จากธุรกิจบริการทั้งหมดในปี 2553 มีมูลค่ากว่า 4.9 ล้านล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 47 ของ GDP - สาขาบริการก่อให้เกิดการจ้างงานประมาณร้อยละ 40 ขณะที่ภาคเกษตรกรรมมีการจ้างงาน ร้อยละ 39 ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 19 • สาขาบริการที่มีบทบาทมากที่สุด ได้แก่ ค้าส่ง-ค้าปลีก ซ่อมยานพาหนะ ขนส่งและคมนาคม โรงแรม ภัตตาคาร การศึกษา การเงิน ก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ และบริการสุขภาพ • ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • - AEC เปิดเสรีบริการ 5 สาขา • ปี 2010: สุขภาพ , ICT, ท่องเที่ยว, ขนส่งทางอากาศ, Telecom • ปี 2015: Logistics • ปี 2018: Other services • Liberalization for ASEAN’s participation Shareholder ≥ 70 • การเคลื่อนย้ายบริการเสรี: เพิ่มสัดส่วนถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ
ร้านอาหารไทย การศึกษานานาชาติ แฟรนไชส์ ธุรกิจบริการที่ไทยมีศักยภาพ การจัดกิจกรรมและงานแสดงสินค้า ภาพยนตร์ และบันเทิง การพิมพ์ Software Digital Content ออกแบบก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ Long Stay อู่ซ่อมรถยนต์ อู่จอด/ต่อ/ ซ่อมเรือ ผลิตเสื้อผ้าสั่งตัด รักษาพยาบาล ท่องเที่ยว และโรงแรม สปา กำจัดสิ่งปฏิกูล สุขาภิบาล เสริมความงาม
ข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ส่งเสริมธุรกิจบริการของกระทรวงพาณิชย์ข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ส่งเสริมธุรกิจบริการของกระทรวงพาณิชย์ โดยกรมส่งเสริมการส่งออก
ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและสมุนไพรไทย และธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพ • ในปี 2550 ไทยมีโรงพยาบาล 1,973 แห่ง มีแพทย์ทั่วไปและเฉพาะทางรวม 22,018 คน • (สัดส่วนแพทย์ 3 คนต่อประชากร 10,000 คน) และลูกจ้าง 318,784 คน • ปี 2554 มีผู้ประกอบโรคศิลปะ 60,765 คน • ชาวต่างชาติมารักษาพยาบาลในไทยปีละประมาณ 1.3 ล้านคน ประมาณการรายได้จากค่ารักษาและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องประมาณ 1 แสนล้านบาท • ปี 2550 มีผู้ป่วยชาวต่างชาติ 1.37 ล้านคน แบ่งเป็น ชาวต่างประเทศในไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ร้อยละ 41 นักท่องเที่ยว ร้อยละ 32 และผู้ที่เดินทางมาเพื่อรักษาตัว ร้อยละ 26.6 • ปี 2555 คาดว่าจะมีผู้ป่วยชาวต่างประเทศกว่า 2 ล้านคน และมีแนวโน้มการขยายตัวประมาณ ร้อยละ 20-25 • ปี 2555 ประมาณการรายได้จากธุรกิจสุขภาพ มูลค่า 81,259 ล้านบาท ข้อมูลธุรกิจ ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่มา: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการบริหารศูนย์กลางสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บริการด้านสุขภาพและสังคมบริการด้านสุขภาพและสังคม ด้านสุขภาพ ด้านสังคม Hospital Services การให้บริการโรงพยาบาลภายใต้การดูแลของแพทย์แบบผู้ป่วยใน Other Human Health Services เช่น การพยาบาลดูแลผู้ป่วย,กายภาพบำบัด,Para-Medical Services, รถพยาบาล, ที่พักฟื้นผู้ป่วย, Lab testing, R&D, Health insurance, Life Science Medical & Dental Services การให้บริการการแพทย์และทันตแพทย์ แบบผู้ป่วยนอก สินค้าที่เกี่ยวข้องกับการบริการสุขภาพ วัสดุอุปกรณ์ทันตกรรม, ยา, อุปกรณ์/เครื่องมือแพทย์, อาหารเสริม, สมุนไพรไทย
กรอบความตกลงสาขาบริการสุขภาพกรอบความตกลงสาขาบริการสุขภาพ • ไทย: ยังไม่ได้ผูกพันในสาขาสุขภาพ รวมทั้งบริการอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ เช่น สปา และนวด • ประเทศสมาชิก WTO อื่นๆ: ส่วนใหญ่อนุญาตให้คนชาติสามารถรับการรักษาพยาบาลในประเทศอื่นและให้จัดตั้งสถานพยาบาลได้ แต่ยังมีข้อจำกัด เรื่องสัดส่วนผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ และ Economic Needs Testเพื่อควบคุมจำนวนสถานพยาบาล • องค์การการค้าโลก (WTO) • ความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service) • ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - จีน (ACFTA) • ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - เกาหลี (AKFTA) • ความตกลงการค้าเสรีไทย - ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ (AANZFTA) • ความตกลงการค้าเสรีไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นไทย - นิวซีแลนด์ (TNZCEP) • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น (JTEPA) ASEAN ได้ลงนามใน Mutual Recognition Arrangement (MRA) สาขาวิชาชีพการแพทย์ และทันตแพทย์ (มีผลบังคับใช้ 25 สิงหาคม 2552) และสาขาพยาบาล (มีผลบังคับใช้ 8 ธันวาคม 2549)
ข้อผูกพันสาขาสุขภาพในกรอบ ASEAN ข้อผูกพันชุดที่ 7 ของไทยในสาขาสุขภาพ บริการด้านโรงพยาบาล บริการที่ดำเนินการโดยพยาบาล เปิดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 บริการทางการแพทย์และทันตแพทย์ จัดตั้งธุรกิจได้เฉพาะรูปแบบแผนกในโรงพยาบาลได้ ไม่เกิน 1 แห่งเท่านั้น บริการด้านสัตวแพทย์ (เฉพาะสัตว์เลี้ยง) ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศไทย ต้องเปิดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ ไม่น้อยกว่า 70% ข้อผูกพันชุดที่ 8 ปี 2554 ลด/ยกเลิกข้อจำกัดอื่นๆ
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC: ข้อ5. เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา / ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ ปัจจุบัน ตกลงกัน ได้แล้ว 7 สาขา สาขาแพทย์ สาขาทันตแพทย์ สาขาพยาบาล สาขานักบัญชี สาขานักสำรวจ สาขาสถาปัตยกรรม สาขาวิศวกรรม
บทบาทกระทรวงพาณิชย์ในการพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจบริการบทบาทกระทรวงพาณิชย์ในการพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก: ลู่ทางการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า: การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณีของไทย
เป็นตลาดขนาดใหญ่ ประชากร 600 ล้านคน นักท่องเที่ยวจากอาเซียน 5-6 ล้านคนต่อปี ขยายช่องทางบริการ เปิดตัวแทน, เปิดโรงพยาบาลในอาเซียน ฯลฯ ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ – ภาครัฐและโรงพยาบาลเอกชนต้องร่วมมือกันในการผลิต/พัฒนาบุคลากร สร้างมาตรฐานการบริการให้ได้การรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ เน้นจุดเด่นทางอุปนิสัยและวัฒนธรรมของคนไทย “Thai Hospitality” -- ความอ่อนน้อม ความประณีต ซึ่งทำให้การบริการมีความน่าประทับใจ การปรับตัว และขยายโอกาส • ภาครัฐ: การพัฒนาไปสู่การเป็น Medical Hub เตรียมพร้อมเรื่องการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ การพัฒนาคุณภาพบุคลากร การพัฒนามาตรฐานสถานประกอบการ การกำกับดูแลให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงเป็นธรรม การกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นร่วมกับภาคเอกชน • ภาคเอกชน: เตรียมพร้อมรับมือกับการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ยกระดับ/สร้างภาพลักษณ์การให้บริการที่มีคุณภาพ การมีเป้าหมายตลาดเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) การมีเครือข่ายในการทำธุรกิจร่วมกัน • บุคลากรทางการแพทย์ : รู้ภาษาต่างประเทศ ศึกษาวัฒนธรรมของอาเซียน เพื่อขยายโอกาสในการทำงานทั้งในและต่างประเทศ
ขอบคุณ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โทร. 02 5475247 โทรสาร 02 5475248 www.moc.go.th กรมส่งเสริมการส่งออก www.depthai.go.th กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ www.dtn.go.th กรมการค้าต่างประเทศ www.dft.go.th กรมพัฒนาธุรกิจการค้า www.dbd.go.th