320 likes | 669 Views
คำรับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน ( Internal Performment Agreement : IPA ) กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2556. ประเด็นนำเสนอ. ที่มาการจัดทำ IPA. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย. กำหนดให้มีตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนและวัดผลได้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับองค์การลงไปจนถึงระดับบุคคล.
E N D
คำรับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (Internal Performment Agreement : IPA) กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2556
ที่มาการจัดทำ IPA • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย กำหนดให้มีตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนและวัดผลได้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับองค์การลงไปจนถึงระดับบุคคล • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) • หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • 2.1 การวางยุทธศาสตร์ • 2.2 การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • - การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล (IPA) • - ระบบบริหารความเสี่ยง (RM)
การดำเนินงานคำรับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (Internal Performance Agreement : IPA) แนวคิด • คือ เครื่องมือสำหรับผู้บริหารในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล • โดยมีการ • จัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร • มีการจัดทำระบบรายงาน • มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการฏิบัติงานตามข้อตกลงกับระบบแรงจูงใจ • เพื่อให้ การนำยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมายขององค์กรสู่การปฏิบัติมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสัมฤทธิ์
กรอบการประเมินผล IPA ปี 2549-2555 จังหวัด/สำนัก / กอง ?% ส่วนที่ 1 : ผลสำเร็จการบรรลุเป้าหมายตามคำรับรอง (PA) และแผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2554 ที่หน่วยงานรับผิดชอบ ?% ส่วนที่ 2 : ผลสำเร็จของข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ส่วนที่ 3 : ระบบการถ่ายทอดค่าเป้าหมายขององค์กรสู่ระดับบุคคล ?% 5
ข้อมูลการวิเคราะห์การดำเนินงาน IPA ที่ผ่านมา (๒๕๔๙-๒๕๕๕) นำไปสู่การปรับปรุงแนวทางการดำเนินงาน IPA ปี ๒๕๕๖
แนวทางการดำเนินงานคำรับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (Internal Performance Agreement : IPA) กรมการพัฒนาชุมชนประจำปี พ.ศ. 2556
กรมฯ ทบทวนและปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ /เป้าหมาย /ตัวชี้วัด /แนวทาง /กรอบประเมิน IPA / ถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย /สร้างความเข้าใจ พัฒนาอะไร ผลงานวัดด้วยตัวชี้วัดอะไร เป้าหมายเท่าใด มีการถ่ายทอด ขับเคลื่อนอย่างไร • สำนัก กอง ศูนย์ /จังหวัด • ทบทวนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ของหน่วยงาน • จัดทำข้อเสนอโครงการริเริ่มเพิ่มประสิทธิภาพงาน • จัดทำแผนขับเคลื่อนคำรับรองภายในฯ เผยแพร่ผลงาน /บทเรียน รับสิ่งจูงใจตามระดับผลงาน นำเสนอคำรับรองการปฏิบัติราชการภายใน ให้อธิบดีพิจารณา ประกาศให้ทราบ ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการภายในตามลำดับการบังคับบัญชา ถ่ายทอดสู่ระดับบุคคล ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการภายใน และประเมินผลตนเองและรายงานผล ประเมินผล
สาระสำคัญ การจัดทำ IPA ระดับกรม เป้าประสงค์และตัวชี้วัดของกรม (จากยุทธศาสตร์ ,แผนปฏิบัติราชการ,PA และนโยบายสำคัญ) บทบาทหน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กอง ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของกรม บทบาท หน้าที่และภารกิจในงานประจำ ของสำนัก/กอง/สพจ. (ตามกฎกระทรวงฯ) ระดับสำนัก กอง สพจ. เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง /สพจ. ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง / สพจ. บทบาทหน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กอง/สพจ. ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับกรม บทบาท หน้าที่และภารกิจในงานประจำของสำนัก/กอง งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ ระดับบุคคล เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล
อพช. รอง อพช. ผู้ตรวจราชการกรม/นักวิชาการฯ เชี่ยวชาญ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมายกรมฯ หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน หน้าที่ความรับผิดชอบตามนโยบาย ผอ.สำนัก/กอง พจ. ผอ.กลุ่ม/หน.กลุ่มงาน/ฝ่าย หน.กลุ่มงาน/ฝ่าย ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายสำนัก กอง หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคล/ตำแหน่ง 1. จนท.ในหน่วยงาน 1. จนท.ในหน่วยงาน ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายบุคคล 2. จนท.ในหน่วยงาน 2. จนท.ในหน่วยงาน 3. จนท.ในหน่วยงาน 3. จนท.ในหน่วยงาน คำรับรองการปฏิบัติราชการรายบุคคล
การจัดหน่วยงานตามกรอบการประเมิน IPA ปี ๒๕๕๖ (ตามลักษณะงาน)
การจัดสรรงบประมาณขับเคลื่อน IPA ปี ๒๕๕๖ ส่วนกลางไม่ได้รับการจัดสรรงบ
การจัดสรรรางวัลจูงใจ IPA กรมการพัฒนาชุมชนประจำปี ๒๕๕๖ หน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดีเด่น รางวัลละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท หน่วยงานผลงาน นวัตกรรมดีเด่น รางวัลละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท รวม ๓ รางวัล ภูมิภาค ๑๘ รางวัล (เขตตรวจละ ๑ รางวัล) ส่วนกลาง ๒ รางวัล (หลัก ๑ รางวัล สนับสนุน ๑ รางวัล) หน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดีเด่น (ผ่านรอบที่ ๑) สมัครใจเข้ารับการพิจารณาคัดเลือก ตรวจประเมินทุกหน่วยงาน
กรอบการประเมิน IPA ปี ๒๕๕๖ • ส่วนที่ ๑ ผลสำเร็จตาม PA แผนปฏิบัติราชการ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และนโยบายสำคัญที่ได้รับมอบหมาย • ๕๐ คะแนน • ส่วนที่ ๒ ผลสำเร็จตามข้อเสนอโครงการริเริ่ม • ๕๐ คะแนน
๑๐ ๑.๑ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย PA ปี ๕๖ ๑๐ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ส่วนที่ ๑ ผลสำเร็จตาม PA แผนปฏิบัติราชการ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และนโยบายสำคัญที่ได้รับมอบหมาย (๕๐ คะแนน) ๑.๒ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ , แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปี ๕๖ ๑.๓ ร้อยละสะสมของการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณ กรมฯ ปี ๕๖ ๑.๔ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (OTOP, กองทุนแม่ฯ., กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี) ๑.๕ ระดับความสำเร็จของการบริหารยุทธศาสตร์ของหน่วยงานตามแนวทางที่กำหนด ๑.๖ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายเหตุ : 1. ตัวชี้วัดที่ 1.4 วัดความสำเร็จการดำเนินงานเฉพาะหน่วยงานส่วนภูมิภาค (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด) 2. กรณีหน่วยงานส่วนกลาง จะนำค่าน้ำหนักตัวชี้วัดที่ 1.4 ไปรวมไว้กับตัวชี้วัดที่ 1.2 และ 1.3 เป็นร้อยละ 10
ระดับ ๑ ผลสำเร็จตามกระบวนการ หรือขั้นตอนการดำเนินงานและตัวชี้วัดข้อเสนอโครงการริเริ่มของหน่วยงานที่กำหนด ส่วนที่ ๒ ผลสำเร็จตามข้อเสนอโครงการริเริ่ม (๕๐ คะแนน) ระดับ ๒ ผลสำเร็จของการพัฒนา แนวคิด รูปแบบการดำเนินงานและการบรรลุเป้าหมายผลผลิตตามที่กำหนด (ดูว่าเกิดนวัตกรรมอะไร) กรอบและเกณฑ์การประเมิน ระดับ ๓ ผลสำเร็จของการพัฒนา ในระดับผลลัพธ์การดำเนินงาน (ส่งผลต่อการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของงานอย่างไร) ระดับ ๕ มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงาน องค์ความรู้สู่สาธารณะและเป็นแบบอย่างกับพื้นที่อื่น (Best Practice) ระดับ ๔ ผลสำเร็จของการพัฒนา ในระดับการนำผลการดำเนินงานไปทดลองใช้ ปฏิบัติจริง
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน • นวัตกรรม หมายถึง • แนวคิด วิธีการ และรูปแบบ ใหม่ๆ ในการจัดการ การดำเนินงาน และการให้บริการ ของกรมฯ • เป็นผลที่เกิดจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่างๆ • ก่อให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของการปฏิบัติงานของกรมฯ • ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในองค์กร
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน • ประเภทนวัตกรรม • นวัตกรรมเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ • นวัตกรรมด้านสินค้าและการบริการ • รูปแบบการให้บริการ /การส่งมอบงาน • นวัตกรรมด้านกระบวนการและการบริหารองค์การ • นวัตกรรมด้านการปฏิบัติสัมพันธ์เชิงกระบนการ เสนอได้ 1 ประเภท ๑ โครงการ ตอบโจทก์ ๑ ประเภท
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน • คำอธิบายประเภทนวัตกรรม • นวัตกรรมเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ • : การคิดค้น ออกแบบ กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ ภารกิจ เป้าประสงค์ใหม่เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ หรือวางทิศทางใหม่ในการนำพาองค์กรในอนาคต • เช่น นโยบายการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ ในรูปแบบโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ฯ , ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนชุมชน ในรูปแบบสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน, รูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชน โดยโรงเรียนผู้นำ, การพัฒนาหมู่บ้าน OVC เป็นต้น
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน • คำอธิบายประเภทนวัตกรรม • นวัตกรรมด้านสินค้าและการบริการ • : การปรับปรุง ปรับเปลี่ยนรูปลักษณ์และการออกแบบของสินค้าและบริการของหน่วยงานที่ส่งถึงลูกค้า ผู้รับบริการ • เช่น ระบบ OA • รูปแบบการให้บริการ /การส่งมอบงาน • : การสร้าง หรือปรับเปลี่ยนแนวทาง/รูปแบบในการบริการหรือติดต่อกับลูกค้า ประชาชน เช่น การให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต , ระบบรายงาน Online Real Time, BPM
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน • คำอธิบายประเภทนวัตกรรม • นวัตกรรมด้านกระบวนการและการบริหารองค์การ • : การออกแบบโครงสร้างองค์การ และกระบวนการภายในใหม่ • เช่น การจัดตั้งหน่วยงานบริการรูปแบบพิเศษ การพัฒนาแนวทางการบริหารงบประมาณ การบริหารบุคลากร เป็นต้น • นวัตกรรมด้านการปฏิบัติสัมพันธ์เชิงกระบวนการ • : การปรับปรุงหรือพัฒนารูปแบบ ระบบความสัมพันธ์เชิง อำนาจหน้าที่ กับภาคส่วนอื่น ขึ้นใหม่
ระบบติดตามและประเมินผล (IPA) มค.-มี.ค.56 เมย.-มิย. 56 กค.-สค.56 15 สค.ก.ย.56 • คัดเลือก • - หน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดีเด่น • - หน่วยงานนวัตกรรมดีเด่น ระดับ ส่วนกลาง /ภูมิภาค • เสริมศักยภาพ • สร้างการเรียนรู้ • หน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดีเด่น • -ภูมิภาคโดยผู้ตรวจราชการกรมฯ • -ส่วนกลาง โดยคณะกรรมการฯ • หน่วยงานผลงานนวัตกรรมดีเด่น โดยคณะกรรมการฯ • ผู้ตรวจฯ ติดตาม รายเดือน รายไตรมาส • เจ้าภาพตัวชี้วัดติดตามในพื้นที่ • หน่วยงานรายงานประเมินตนเอง (SAR) ครั้งที่ 1 (๕ เมย.๕๖) ส่วนภูมิภาค : ผู้ตรวจราชการกรม ติดตามผลจากรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) • หน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดีเด่น • หน่วยงานผลงานนวัตกรรมดีเด่น ส่วนกลาง : คณะกรรมการฯ ติดตามผลจากรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) • ผู้ตรวจฯ ติดตามรายเดือน รายไตรมาส • หน่วยงานรายงานประเมินตนเอง (SAR) ครั้งที่ 3 (15 สค.๕๖) • หน่วยงานสรุปผล IPA ประจำปี ส่งกรมฯ ภายใน 15 สค.๕๖ • ผู้ตรวจฯ ติดตามรรายเดือน รายไตรมาส • หน่วยงานรายงานประเมินตนเอง (SAR) ครั้งที่ 2 (๕ กค.๕๖) • เจ้าภาพตัวชี้วัดติดตามในพื้นที่ • ประกาศผล • จัดสรรรางวัลจูงใจ
การติดตาม ประเมินผล IPA ปี ๒๕๕๖
ข้อตกลงการขับเคลื่อน IPA ปี ๒๕๕๖ • ทุกหน่วย จะต้องดำเนินการ • 1. จัดทำ KPI Template พร้อมแนวทางการดำเนินงาน (ตามคู่มือฯ) ให้ครบถ้วนทุกตัวชี้วัด เพื่อเป็นข้อมูลติดตาม สนับสนุน และตรวจประเมินของผู้ตรวจราชการกรมและคณะกรรมการฯ หากยังไม่ทำ ขอให้เร่งดำเนินการให้ครบถ้วน • 2. ข้อตกลงร่วมกัน คือ การส่งข้อมูลต่างๆ ตามปฏิทินจะไม่มีการโทรศัพท์ ติดตาม เร่งรัด เหมือนที่ผ่านมา แต่ทุกจังหวัดต้องรับผิดชอบการดำเนินงาน หากจังหวัด/หน่วยงานจัดส่งข้อมูลให้กองแผนงานครบถ้วนตามเวลา ก็จะสามารถส่งต่อข้อมูลให้กับผู้ตรวจราชการกรม และคณะกรรมการ เพื่อการตรวจติดตาม และการตัดสินใจ ได้ครบถ้วน
Q&A ขอบคุณ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โทร/โทรสาร 0 21438917 www.cdd.go.th , E-mail:cddplan1@hotmail.coo.th