• 220 likes • 347 Views
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร. กรณีศึกษา : ผลกระทบของอุณหภูมิที่มีต่อศัตรูพืชใน ขบวนการผลิตทางการเกษตร. ผู้บรรยาย : ดร.สุรเชษฐ จามรมาน ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10900.
E N D
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร กรณีศึกษา:ผลกระทบของอุณหภูมิที่มีต่อศัตรูพืชใน ขบวนการผลิตทางการเกษตร ผู้บรรยาย :ดร.สุรเชษฐ จามรมาน ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10900
- ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ถั่วเขียว ถั่วลิสง มันสำปะหลังแห้ง เนื้อมะพร้าวแห้ง ยาสูบ แป้ง รำ อาหารสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ตลอดจนผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
ถูกแมลงเข้าทำลายก่อให้เกิดความเสียหายประมาณ 80% ของผลผลิตหรือคิดเป็นมูลค่าไม่ต่ำกว่า 13,000ล้านบาทต่อปี
- การพบแมลงหรือชิ้นส่วนแมลง ปนเปื้อนไปกับผลิตผลเกษตรที่ส่งไปขายยังต่างประเทศ จนมีผลต่อการส่งออกอย่างมาก โดยเฉพาะมีผลต่อการกำหนดราคาผลิตผลเกษตร
แมลงศัตรูที่สำคัญที่พบทำลายผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทย ได้แก่ ด้วงงวงข้าวโพด ผีเสื้อข้าวเปลือก มอดแป้ง ผีเสื้อข้าวสาร ด้วงถั่วเขียว ด้วงงวงข้าว มอดยาสูบ มอดข้าวเปลือก
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้แมลงศัตรูผลิตผลเกษตรปัจจัยที่ส่งเสริมให้แมลงศัตรูผลิตผลเกษตร มีการระบาดตลอดปี เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสม - ความร้อน - ความชื้น ทำให้ความเสียหายรุนแรง
ตารางแสดงค่าอุณหภูมิที่มีต่อแมลงศัตรูผลิตผลเกษตรตารางแสดงค่าอุณหภูมิที่มีต่อแมลงศัตรูผลิตผลเกษตร http://www.doa.go.th
แมลงศัตรูข้าว • พบเพลี้ยจั้กจั่น เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เพลี้ยกระโดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว และบั่ว ระบาดมากที่สุดเมื่ออุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส • พบแมลงน้อยที่สุดที่อุณหภูมิ 16.6องศาเซลเซียส ผลงานวิจัย: คุณสุวัฒน์ รอยอารี กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวและธัญพืชเมืองหนาว กรมวิชาการเกษตร
อุณหภูมิต่ำกว่า 13องศาเซลเซียส ตั๊กแตนจะเคลื่อนไหวช้า หรือแข็งตัวบินไม่ได้ (ธันวาคม – กุมภาพันธ์)http://www.ricethailand.com
เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง (ใช้ SAGE model) (SAGE = Soybean Aphid Growth Estimator) - การเพิ่มประชากรของเพลี้ยอ่อนถั่วเหลืองขึ้นอยู่กับการผลิตลูก การรอดตาย และการเจริญเติบโต
1. ที่อุณหภูมิ 68 องศาฟาเรนไฮต์ (20 องศาเซลเซียส) - จะผลิตลูกได้ปานกลาง- มีการรอดตายนาน (38วัน)- การเจริญเติบโตปานกลาง
2. ที่อุณหภูมิ 77 องศาฟาเรนไฮต์ (25องศาเซลเซียส)- จะผลิตลูกได้สูงสุด- การรอดตายปานกลาง (22วัน)- การเจริญเติบโตดีที่สุด
3. ที่อุณหภูมิ 86องศาฟาเรนไฮต์ (30องศาเซลเซียส)- จะผลิตลูกได้น้อย- การรอดตายลดลง (22วัน)- การเจริญเติบโตลดลง
4. ที่อุณหภูมิ 95 องศาฟาเรนไฮต์ (35องศาเซลเซียส)- ไม่สามารถให้ลูกได้เลย- การรอดตายน้อยที่สุด (11วัน)- ไม่สามารถเจริญเติบโตได้http://www.soybean.umn.edu
แสดงอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดสำหรับกิจกรรมต่าง ๆ ของผึ้ง ที่มาข้อมูล : สิริวัฒน์ วงษ์ศริ และเพ็ญศรี ตังคณะสิงห์ ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แมลงหวี่ • เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส • ถ้าเลี้ยงแมลงที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน แมลงหวี่จะเป็นหมันหรือตายหมด http://www.chapa.ku.ac.th
ยุงลาย นักวิชาการทั่วโลกเชื่อว่า สาเหตุของการ แพร่พันธ์ของยุงลาย และแมลงร้ายที่เป็น พาหะนำโรคต่าง ๆ ก็คือสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลา กว่า 100ปี ที่ผ่านมา
โลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอากาศอย่างชัดเจนโลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอากาศอย่างชัดเจน • อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นอย่างมากในปี พ.ศ. 2523 – 2533 • เป็นช่วงที่โลกมีสภาพอากาศร้อนที่สุด • El Nino ได้รับการบันทึกมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2110 จนถึงปัจจุบันปรากฏการณ์นี้ได้ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้งและอุณหภูมิสูงขึ้นในหลาย ๆ ประเทศรวมถึงประเทศไทย
ภาวะแห้งแล้งมีผลต่อการเพิ่มจำนวนยุงลายภาวะแห้งแล้งมีผลต่อการเพิ่มจำนวนยุงลาย • ยุงและแมลงที่จำศีลในช่วงฤดูหนาวสามารถแพร่พันธุ์ได้ในสภาพอากาศของฤดูหนาว ที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นด้วย ที่มา : http://www.kanchanapisek.or.th
สรุป : ปัจจัยทางภูมิอากาศมีอิทธิพลโดยตรงต่อแมลงที่เป็นพาหะนำโรค • อุณหภูมิ ที่เพิ่มขึ้น จะเป็นตัวเร่งการเจริญเติบโตของแมลงพาหะ ผลที่ตามมา แมลงพาหะต้องการอาหาร เพื่อบำรุงมากขึ้น ต้องการเลือดมากขึ้น วางไข่เพิ่มสูงขึ้น
อุณหภูมิต่ำสุด – สูงสุด จะเป็นตัวจำกัดการกระจายตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ • แมลงจะอยู่ภายใต้อุณหภูมิที่พอเหมาะเท่านั้น • อุณหภูมิต่ำสุดที่เปลี่ยนแปลงไป จะมีผลอย่างมากต่อการอยู่รอดของแมลงพาหะในฤดูหนาวที่ร้อนขึ้น จะทำให้ยุง แมลงสาป และปลวกเพิ่มสูงมากขึ้น