100 likes | 163 Views
แนวทางการจัดตำแหน่งเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551 (มาตรา 131) ศูนย์บริหารการปรับเปลี่ยนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน ก.พ. 16 กรกฎาคม 2551. ขั้นตอนการจัดตำแหน่งและจัดคนเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่. พ.ร.บ.ฯ มีผลบังคับใช้ 26 ม.ค. 51.
E N D
แนวทางการจัดตำแหน่งเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่แนวทางการจัดตำแหน่งเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551(มาตรา 131) ศูนย์บริหารการปรับเปลี่ยนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน ก.พ. 16 กรกฎาคม 2551
ขั้นตอนการจัดตำแหน่งและจัดคนเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ขั้นตอนการจัดตำแหน่งและจัดคนเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ พ.ร.บ.ฯ มีผลบังคับใช้ 26 ม.ค. 51 ก.พ. + สรก. ดำเนินการจัดตำแหน่ง และจัดคนลง (มาตรา 131) ก.พ. ประกาศบัญชีจัดตำแหน่งเข้าประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง ผู้บังคับ บัญชาแต่งตั้งขรก. ดำรงตำแหน่งใหม่ (จัดคนลง) ภายใน 30 วันนับจากประกาศ ก.พ. ฯ ภายใน 26 ม.ค. 52 (สกพ. มีนโยบายให้ประกาศใช้ภายในเดือนธันวาคม 2551)
แผนการดำเนินการจัดตำแหน่งเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่แผนการดำเนินการจัดตำแหน่งเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ • จัดตำแหน่งเข้าระบบใหม่ตามแนวทางที่กำหนด • (ประเภท/สายงาน/ระดับ) • หาข้อสรุปตำแหน่งที่อยู่ระหว่างการพิจารณา • (เช่น เจ้าหน้าที่บริหารงาน... เป็นต้น) • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตำแหน่ง • จัดทำบัญชีจัดตำแหน่งเข้าประเภท สายงาน และ • ระดับตำแหน่ง โดยใช้เครื่องมืออำนวยความสะดวก • ดังนี้ • - ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (Departmental Personnel Information • System: DPIS)หรือ • - จัดทำข้อมูลในโปรแกรม Excel หรือ • - ส่วนราชการพัฒนาโปรแกรมจัดตำแหน่ง • (โดยความช่วยเหลือของสำนักงาน ก.พ.) ก.พ. ประกาศบัญชีจัดตำแหน่งเข้าประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง พ.ร.บ.ฯ มีผลบังคับใช้ 26 ม.ค. 51 ก.พ. + สรก. ดำเนิน การจัดตำแหน่ง (มาตรา 131) ธันวาคม 2551 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
หลักการจัดตำแหน่งปัจจุบันเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่หลักการจัดตำแหน่งปัจจุบันเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ • ใช้แนวทางที่เป็นมาตรฐานร่วมกันทุกส่วนราชการ • จัดตำแหน่งตามข้อเท็จจริงของตำแหน่งและผู้ดำรงตำแหน่ง ณ วันที่ • ประกาศ • ประกาศใช้ระบบจำแนกตำแหน่งใหม่พร้อมกันทุกส่วนราชการ เพื่อมิให้ • ได้เปรียบหรือเสียเปรียบในเรื่องการแต่งตั้ง • รักษาสิทธิประโยชน์ของข้าราชการ
การจัดตำแหน่งปัจจุบันเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่การจัดตำแหน่งปัจจุบันเข้าระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ • จัดตำแหน่งโดยอาศัยผลการศึกษา การสำรวจงาน และรวบระดับตำแหน่งตาม • ผลการศึกษา • จัดตำแหน่งตามสายงานและระดับในบัญชีกำหนดตำแหน่งของส่วนราชการที่ • ก.พ. กำหนดไว้ • จัดตำแหน่งตามระดับของผู้ครองตำแหน่ง ณ วันที่ ก.พ. ประกาศจัดตำแหน่งตามมาตรา • 131 (เช่น ตำแหน่งระดับ 3-5 /6ว ซึ่งผู้ครองตำแหน่งเป็นระดับ 6ว ณ วันที่ ก.พ. • ประกาศให้จัดตำแหน่งเป็น ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ) • กรณีตำแหน่งว่าง ให้ก.พ. ร่วมกับกรมพิจารณาตามความจำเป็นและความเหมาะสม โดย • กำหนดได้ไม่เกินระดับสูงสุดของตำแหน่งเดิม • จัดตำแหน่งโดยคงเลขที่ตำแหน่งไว้ตามเดิม • ก.พ. อาจกำหนดระยะเวลาให้มีการชะลอการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง • ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551
การจัดตำแหน่ง: ประเภทบริหาร ระดับ 11 บส. - ปลัดกระทรวง - ห.น.สรก.ในบังคับบัญชา หรือขึ้นตรงต่อนรม. • ระดับ 10 บส. • - รองปลัดกระทรวง • - รองหัวหน้าสรก.ในบังคับบัญชา • หรือขึ้นตรงต่อนรม. • - หัวหน้าสรก.ระดับกรม/จังหวัด • - หัวหน้าสถานเอกอัครราชทูต • - หัวหน้าคณะทูตถาวร • ประจำสหประชาชาติ • หรือประจำสนง.สหประชาชาติ • หัวหน้าคณะผู้แทนไทยประจำ • องค์การการค้าโลก • - ผู้ตรวจราชการกระทรวง • ผู้ตรวจราชการสำนักนายกฯ ระดับสูง (521 ตำแหน่ง) • ระดับ 9 บส. • รองหัวหน้าสรก.ระดับกรม/จังหวัด • รองหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูต • รองหัวหน้าคณะทูตถาวรประจำสหประชาชาติหรือประจำสนง.สหประชาชาติ • รองหัวหน้าคณะผู้แทนไทยประจำองค์การการค้าโลก • หัวหน้าสถานกงสุล ระดับต้น (509 ตำแหน่ง)
การจัดตำแหน่ง: ประเภทอำนวยการ • ระดับ 9 บส. • ผอ. สำนัก หรือ เทียบเท่า • หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด • ผู้ตรวจราชการกรม • หัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี ระดับสูง (1,166 ตำแหน่ง) • ระดับ 8 บก. • ผอ. กอง หรือ เทียบเท่า • หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด ระดับต้น (3,976 ตำแหน่ง)
การจัดตำแหน่ง: ประเภทวิชาการ ระดับ 11 (วช./ชช.) ระดับทรงคุณวุฒิ (174 ตำแหน่ง) ระดับ 10 (วช./ชช.) ระดับ 9 (วช./ชช.) ระดับเชี่ยวชาญ (1,642 ตำแหน่ง) ระดับ 8 (ว/วช.) ระดับชำนาญการพิเศษ (18,304 ตำแหน่ง) ระดับ 7 (ว/วช.) ระดับชำนาญการ (113,412 ตำแหน่ง) ระดับ 6 (ว) ระดับ 5 ระดับปฏิบัติการ (57,792 ตำแหน่ง) ระดับ 4 ระดับ 3 ได้แก่ ตำแหน่งในสายงานเริ่มต้นจาก ระดับ 3 เช่น นัก... นักวิชาการ... เจ้าหน้าที่วิเคราะห์... เป็นต้น
การจัดตำแหน่ง: ประเภททั่วไป ระดับ 8 ระดับอาวุโส (19,145 ตำแหน่ง) ระดับ 7 ระดับ 6 ระดับชำนาญงาน (122,794 ตำแหน่ง) ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับปฏิบัติงาน (22,249 ตำแหน่ง) ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ได้แก่ ตำแหน่งในสายงานเริ่มต้นจาก ระดับ 1หรือ2 เช่น เจ้าหน้าที่... เจ้าพนักงาน... ช่าง... นายช่าง...เป็นต้น
สรุปผลการจัดตำแหน่งเดิมเข้าประเภทและระดับตำแหน่งใหม่สรุปผลการจัดตำแหน่งเดิมเข้าประเภทและระดับตำแหน่งใหม่ บริหาร วิชาการ ระดับสูง 53,690 – 66,480 (10-11) 66,480 11 วช/ชช บส ทรงคุณวุฒิ 11 (10-11) ระดับต้น 48,700 – 64,340 (9) 10 วช/ชช บส 41,720 อำนวยการ 59,770 เชี่ยวชาญ 9 วช/ชช บส บส ระดับสูง (9) 31,280 - 59,770 (9) 29,900 วช 25,390 – 50,550 (8) 8 บก ระดับต้น 50,550 7 (8) ทั่วไป วช ชำนาญการพิเศษ 59,770 21,080 ทักษะพิเศษ 6 (9) 36,020 48,220 (6-7) ชำนาญการ 5 47,450 14,330 อาวุโส (7-8) 4 22,220 ปฏิบัติการ (3-5) 15,410 3 7,940 33,540 ชำนาญงาน (5-6) 2 10,190 1 18,190 ปฏิบัติงาน (1-4) 4,630