450 likes | 669 Views
แนวโน้มการจัดการศึกษาไทยและโลก. จัดโดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ( สพป ) พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ณ ห้องอู่ทอง 1 ชั้น 3 โรงแรมคลาสสิก คามิโอ อยุธยา วันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม 2557 เวลา 9.00-12.00 น. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด.
E N D
แนวโน้มการจัดการศึกษาไทยและโลกแนวโน้มการจัดการศึกษาไทยและโลก จัดโดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป) พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ณ ห้องอู่ทอง 1 ชั้น 3 โรงแรมคลาสสิก คามิโอ อยุธยา วันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม 2557 เวลา 9.00-12.00 น. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ส่วนที่ 1 ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ภาษิตจีนบทหนึ่งได้กล่าวไว้อย่างน่าฟังว่า “ถ้ามีวิสัยทัศน์เพื่อเวลา 1 ปี ให้ปลูกข้าวสาลี ถ้ามีวิสัยทัศน์เพื่อทศวรรษ ให้ปลูกต้นไม้ แต่ถ้ามีวิสัยทัศน์ยาวนานชั่วชีวิต ให้ปลูกชีวิตคนรุ่นต่อไป” ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
“วิสัยทัศน์ คือ ภาพในอนาคตที่เห็นได้อย่างชัดเจนในปัจจุบัน เป็นภาพแง่บวกที่น่าพึงปรารถนา ยิ่งใหญ่ตระการตา สะท้อนความคิดเชิงรุก และเชื่อมั่นว่าภาพนั้นสามารถเป็นจริงได้ จนกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจมุ่งมั่นกระทำจนกว่าจะสำเร็จ” ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ส่วนที่ 2สภาวะแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสถาบันการศึกษาไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ปัจจัยที่ 1: การเข้าสู่บรรยากาศการจัดอันดับของ สถาบันอุดมศึกษา ปัจจัยที่ 2: ยุคสังคมดิจิตอล ปัจจัยที่ 3: ประชาคมอาเซียน ปัจจัยที่ 4: สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ปัจจัยที่ 5: กระแสมาตรฐานสากลระหว่างประเทศ ปัจจัยที่ 6: เศรษฐกิจที่มีความเปราะบาง ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ปัจจัยที่ 7:ยุคโลกไร้พรมแดนเข้มข้น ปัจจัยที่ 8: กระแสเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและ ประชาธิปไตย ปัจจัยที่ 9: ประเด็นความคาดหวังของสังคม ปัจจัยที่ 10: แนวโน้มการลดลงของจำนวนผู้เรียน ปัจจัยที่ 11:แรงบีบคั้นต้องผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ส่วนที่ 3แนวทางขับเคลื่อนสถาบันการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
1.การศึกษาที่มุ่งความเป็นสากล (Internationalization) 1.1 การพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศ 1.2 การพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกรองรับนักศึกษาต่างชาติ 1.3 การใช้มาตรฐานดัชนีการจัดอันดับสถาบันการศึกษาชั้นนำของโลก 1.4 การเตรียมพร้อมบุคลากรสู่ความเป็นนานาชาติ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
2. การศึกษาที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน (Competency Transcript) • การมีใบแสดงผลสมรรถนะของผู้เรียน (Competency transcript) ตลอดหลักสูตรทุกภาคการศึกษา ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
3. การศึกษาที่มุ่งความเป็นเลิศทางด้านการวิจัย (Research Excellence) 3.1 การสนับสนุนเงินทุนทำโครงการวิจัยด้วยตนเองให้แก่นักเรียน 3.2 การพัฒนาระบบและกลไกพัฒนาการวิจัยของครูผู้สอน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
4. การศึกษาที่มุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovations) 4.1 การสนับสนุนครูผู้สอนคิดค้นสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ 4.2 การร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
5. การศึกษาที่มุ่งนวัตกรรมความร่วมมือทางการศึกษา (Collaborations) 5.1 การสร้างเครือข่ายกิจกรรมแลกเปลี่ยนทางการศึกษากับสถาบันการศึกษาชั้นนำในระดับภูมิภาคและทั่วโลก 5.2 การทำโครงการ Peer School ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
6. การศึกษามุ่งสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้สู่ความยั่งยืน (Sustainability) 6.1 การปฏิวัติวัฒนธรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน 6.2 การปฏิวัติวัฒนธรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน 6.3 การพบปะพูดคุยกับครูผู้สอนนอกห้องเรียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
7. การศึกษามุ่งพัฒนาโมดูลทางการศึกษา (Modualization) • การเปิดโอกาสให้นักเรียนคัดเลือกและผสมผสานหลักสูตรด้วยตนเอง ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
8. การศึกษามุ่งพัฒนาทักษะการคิด (Thinking Skills) • การสร้างบรรยากาศการเรียนการสอนที่กระตุ้นการ “คิด” ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
9. การศึกษาที่มุ่งสู่ความเป็นอาเซียน (Aseanization) 9.1 การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาที่เป็นจุดร่วมกันของอาเซียน 9.2 การจัดการศึกษาสร้างพหุเอกาในภูมิภาค ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
10. การศึกษาที่มุ่งการเชื่อมต่อเทคโนโลยีล้ำสมัย (Technologisation) 10.1 การบูรณาการเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา 10.2 การพัฒนาบางด้านให้มีความพิเศษกว่าสถาบันการศึกษาอื่น 10.3 การจับมือกับสถาบันการศึกษาที่เก่งด้านเทคโนโลยีพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาร่วมกัน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
11. การศึกษาที่มุ่งการบูรณาการองค์ความรู้ สู่การพัฒนาชาติและท้องถิ่น(Development: National & Local) 11.1 การเชื่อมโยงการทำวิจัยแก้ไขปัญหา/พัฒนาชาติและท้องถิ่น 11.2 การทำวิจัยบนฐานจุดแกร่งหรือเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นอย่างเฉพาะเจาะจง ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
12. การศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการของตลาด (Market-driven program) • การประเมินผลการเรียนต่อของนักเรียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
13. การศึกษาโดยใช้การทำงานเป็นฐาน(Work-based program) • การร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรผู้เชี่ยวชาญเป็นสถานที่ฝึกงานให้แก่นักเรียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
14. การศึกษาโดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based learning) 14.1 การกำหนดให้นักเรียนทำโครงงานระหว่างเรียน 14.2 การมีกิจกรรมภาคปฏิบัติอย่างจริงจัง ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
15. การศึกษาบนฐานการสร้างวิทยาเขตเสมือน(Cyber – campus interface) 15.1 การจัดการศึกษาทางไกล 15.2 การทำหลักสูตรออนไลน์ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
16. การศึกษาบนฐานการพัฒนาสู่พรมแดนความรู้ร่วมสมัย (Frontier Knowledge) • การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการเรียนรู้อย่างเป็นพลวัต ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
17. การศึกษาบนฐานนักเรียนสร้างบริการสังคม (Student social service) • การเชื่อมต่อบริการสังคมกับสถาบันการศึกษาและนักเรียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
18. การศึกษาบนฐานการมุ่งสร้างผลลัพธ์ทางการศึกษา (Outcome based) 18.1 การมีระบบสะท้อนกลับของนักเรียนทุกกิจกรรม 18.2 การมีกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาได้ให้บริการงานวิจัย ฝึกอบรม และคำปรึกษาการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศมากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปีที่ผ่านมา • บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด • ให้บริการคำปรึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • • จัดโครงการฝึกอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • • ฝึกอบรมสำหรับบุคคลทั่วไป (Public Training) และฝึกอบรมแบบ In-house • • จัด Walk Rally และงานสัมมนา (บริการทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พัก) • • บริการสำรวจความคิดเห็น การทำ Poll การวิจัยเชิงสำรวจ • • กิจกรรมพิเศษ (Event) • สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม • 87/110 อาคารโมเดอร์นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 • โทรศัพท์สำนักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495 • โทรสาร : 0 2382 1565 www.ifdtraining.com • อีเมล์: Info@ifdtraining.com , ifdtraining03@gmail.com
กองทุนเวลาเพื่อสังคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel & Fax : 0-2711-7494 ตู้ ป.ณ.420ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 สามารถติดตามข่าวสาร ทาง Social Network ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (Dr.Dan) ได้ที่... http://www.facebook.com/drdancando http://www.twitter.com/drdancando http://www.drkriengsak.hi5.com www.drdancando.com www.oknation.net/blog/kriengsak
ติดต่อ • โทร. : 081-776-8989 • E-mail : kriengsak@kriengsak.com • www.facebook.com/ drdancando