1.06k likes | 2.51k Views
การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร. การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร เป็นกระบวนการวางแผนที่มุ่งจะพัฒนาความสามารถขององค์กร เพื่อให้สามารถที่จะบรรลุและธำรงไว้ซึ่งระดับการปฏิบัติงานที่พอใจที่สุด ซึ่งสามารถวัดได้ในแง่ของประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเจริญเติบโตขององค์. การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร.
E N D
การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร เป็นกระบวนการวางแผนที่มุ่งจะพัฒนาความสามารถขององค์กร เพื่อให้สามารถที่จะบรรลุและธำรงไว้ซึ่งระดับการปฏิบัติงานที่พอใจที่สุด ซึ่งสามารถวัดได้ในแง่ของประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเจริญเติบโตขององค์
การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร การเพิ่ม หมายถึง จำนวนที่มากขึ้น ผลผลิตที่มีคุณภาพสูงขึ้น รูปแบบของผลผลิตสวยงามขึ้น การบริการที่รวดเร็วขึ้น
การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร ข้อแตกต่างของคำว่าประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประสิทธิภาพ หมายถึง การทำงานที่มีการใช้ทรัพยากรการบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประสิทธิผล หมายถึงการทำงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร องค์กร หมายถึง หน่วยงานต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสังคมที่เราอาศัยอยู่ เช่น โรงเรียน บริษัทห้างร้าน หน่วยงานราชการต่าง ๆ โรงพยาบาล โรงงาน นั่นเอง
จากความหมายของการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรจากความหมายของการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร สรุปได้ว่า เราความต้องการที่จะให้องค์กรมีการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางที่ก้าวหน้าขึ้นในอนาคต โดยใช้ความรู้ทางด้านการบริหาร และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ประยุกต์เป็นหลักและทิศทางที่ก้าวหน้า ขององค์กรในอนาคต เป็นระบบที่องค์กรได้จัดรูปแบบให้เอื้ออำนวย ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสร้างกลุ่มทำงานที่มีประสิทธิภาพ ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิผลให้กับองค์กร
ปัจจัยสู่ความสำเร็จทางธุรกิจปัจจัยสู่ความสำเร็จทางธุรกิจ การดำเนินธุรกิจสมัยใหม่ ที่ต้องการให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรคือ ความอยู่รอดและความเจริญเติบโตขององค์กรจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคำนึงถึงปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จ มี 5ประการดังนี้
ปัจจัยสู่ความสำเร็จทางธุรกิจปัจจัยสู่ความสำเร็จทางธุรกิจ 1. ระบบการจัดภายในองค์กร 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลง 3. ตอบสนองความต้องการของลูกค้า 4. การบริหารทรัพยากรเวลา 5. ทรัพยากรมนุษย์
วิธีการใช้ตัวเกณฑ์วัดประสิทธิภาพขององค์กรวิธีการใช้ตัวเกณฑ์วัดประสิทธิภาพขององค์กร 1. เกณฑ์วัดผลตามเป้าหมาย 2. เกณฑ์การบริหารประสิทธิภาพเชิงระบบ 3. เกณฑ์การบริหารประสิทธิภาพโดยอาศัยกลยุทธ์ตามสภาพ แวดล้อมเฉพาะส่วน 4. การใช้วิธีการแข่งขันคุณค่า
การสร้างองค์กรแห่งคุณภาพการสร้างองค์กรแห่งคุณภาพ 1. การลดต้นทุน 2. การเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่อง 3. การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
นิสัยแห่งคุณภาพมี 7ประการ ดังนี้ 1. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. การทำงานเป็นทีม 3. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 4. การมุ่งที่กระบวนการ 5. การศึกษาและฝึกอบรม 6. ประกันคุณภาพ 7. การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วม
กลยุทธ์การบริหารเชิงคุณภาพเป็นเพียงการนำเสนอดังนี้กลยุทธ์การบริหารเชิงคุณภาพเป็นเพียงการนำเสนอดังนี้ 1. วงจร PDCA หรือ PDCA Plan Aet Do Check
กระบวนการดำเนินงานทั้ง 4 ขั้นตอนเป็นไปในลักษณะ ต่อเนื่องย่อมส่งผลให้องค์กรนั้นมีคุณภาพ บรรลุตาม เป้าหมายที่หนดไว้ทุกประการโดยแสดงดังภาพ P P A A D D C C
2. ระบบ 5 ส หรือ 5 S เป็นการกระตุ้นให้พนักงานปฏิบัติงานทุกอย่างด้วยตนเอง จนกลายเป็น ส่วนหนึ่งของการทำงาน สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ สร้างนิสัย
3. กลุ่มระบบ QQC (Quality Contrl Circle:QCC) 4. ระบบการปรับรื้อ(Re-engineering) 5. ระบบ TQM (Total Quality Management)
ความหมายขององค์กร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตตยสถาน ได้นิยาม ความหมายของ "องค์กร" ไว้ว่าองค์กรเป็นศูนย์รวมกิจกรรม ที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย ถ้าเป็นงานสาธารณะ เรียกว่า องค์กร บริหารส่วนราชการ ถ้าเป็นหน่วยงานเอกชน เรียกว่า องค์กร บริหารธุรกิจ
องค์กรโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆคือ 1. องค์กรทางสังคม 2. องค์กรทางราชการ 3. องค์กรเอกชน
โครงสร้างขององค์กร โครงสร้างขององค์กร เป็นการมององค์กรในลักษณะที่เต็มที่ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ และบทบาทหน้าที่ที่เป็นระเบียบ เพื่อการ จัดการและบริหารให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อความสำเร็จของ องค์กร โครงสร้างขององค์กรจะประกอบด้วยส่วนสำคัญดังนี้
มีเป้าหมายวัตถุประสงค์ มีภารหน้าที่ มีการแบ่งงานกันทำ มีสายการบังคับบัญชา มีช่วงการควบคุม มีความเอกภาพ
ประเภทขององค์กร องค์กรจะมีความแตกต่างกันมากมาย ทั้งในด้านองค์ประกอบ และวัตถุประสงค์ ฉะนั้นในการแบ่งประเภทขององค์กร จึงสามารถ แบ่งออกได้ 2ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ประเภทขององค์กร 1. องค์กรปฐมและมัธยม 2. องค์กรรูปนัยและอรูปนัย
เป้าหมายขององค์กร เป้าหมายขององค์กร เป็นการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของ องค์กร โดยคอยกำหนดแนวทางการปฏิบัติ เมื่อองค์กรมีเป้าหมายที่ ชัดเจน จะทำให้มีความเข้าใจในการทำงาน เป้าหมายหลักของ องค์กรโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ใหญ่ ๆ คือ เป้าหมายทางเศรษฐกิจหรือกำไร เป้าหมายเกี่ยวกับการให้บริการ เป้าหมายด้านสังคม
ความสำคัญของการจัดการองค์กรความสำคัญของการจัดการองค์กร องค์กรเป็นที่รวมของคนและงานต่าง ๆ เพื่อให้พนักงาน ขององค์กรปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่เต็มความสามารถ จึง จำเป็นต้องแบ่งหน้าที่การทำงาน และมอบหมายให้รับผิดชอบ ตามความสามารถและความถนัด จึงเห็นว่าการจัดองค์มี ความจำเป็น และก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ดังนี้ ประโยชน์ต่อองค์กร ประโยชน์ต่อผู้บริหาร ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน
การจัดองค์กร เป็นกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง หน้าที่งานของบุคลากร และปัจจัยทางกายภาพต่าง ๆ ขององค์กร หลักการจัดองค์กรครั้งนี้จะเน้นไปที่ระบบราชการ โดยมีหลัก สำคัญดังนี้ การกำหนดหน้าที่การงาน การแบ่งงาน สายการบังคับบัญชา อำนาจการบังคับบัญชา