130 likes | 449 Views
QR Code (Quick Response Code). เสนอ อาจารย์เสกสรร ศรีจันทร์ จัดทำโดย นาย ธันว์ยวิทย์ เจริญกัลป์. QR Code (Quick Response Code). ประวัติความเป็นมา QR Code มาจากนิยามว่า Quick Response หรือการ ตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งผู้คิดค้นตั้งใจที่จะให้ QR Code นี้สามารถ
E N D
QR Code (Quick Response Code) เสนอ อาจารย์เสกสรร ศรีจันทร์ จัดทำโดย นายธันว์ยวิทย์ เจริญกัลป์
QR Code (Quick Response Code) ประวัติความเป็นมา QR Code มาจากนิยามว่า Quick Response หรือการ ตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งผู้คิดค้นตั้งใจที่จะให้ QR Codeนี้สามารถ ถูกอ่านได้อย่างรวดเร็วนั่นเอง QR Codeนี้ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1994 โดยบริษัทสัญชาติ ญี่ปุ่น ที่ชื่อ Denso-Waveและได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ QR Code ไปแล้วทั้งในญี่ปุ่น และทั่วโลก
การพัฒนาของบาร์โค้ด บาร์โค้ด 1 มิติ บาร์โค้ด 1 มิติมีลักษณะเป็นแถบประกอบด้วยเส้นสีดำสลับกับเส้นสีขาว ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรโดยสามารถบรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัวอักษร รูปบาร์โค้ดแบบ 1 มิติ
บาร์โค้ด 2 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 มิติ โดยออกแบให้บรรจุข้อมูลได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ทำให้บรรจุข้อมูลมากถึง 4000 ตัวอักษร รูปบาร์โค้ดแบบ 2 มิติ
บาร์โค้ด 2 มิติ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.บาร์โค้ดแบบสแต็ก(Stacked Barcode) 2.บาร์โค้ดแบบเมตริกซ์ (Matrix Barcode) QR Code เป็นบาร์โค้ดแบบเมตริกซ์ โดยจะเป็นบาร์โค้ดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 4,296 ตัวอักษร รูปบาร์โค้ดแบบ QR Code
การนำเทคโนโลยี QR Code มาใช้งาน ตัวอย่างการใช้งาน -ด้านกระบวนการผลิตสินค้า มีการติดบาร์โค้ด 2 มิติบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ของแผนวงจรนั้น รูปแสดงการนำไปใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า
-ด้านการจัดการสต๊อกสินค้า เพื่อตรวจสอบชื่อรุ่นของสินค้ารหัสสินค้า และจำนวนของสินค้าคงเหลือ แสดงการนำไปใช้ในด้านการจัดสต๊อกสินค้า ในประเทศญี่ปุ่น
-ด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ เช่น หนังสือพิมพ์ โปสเตอร์ เป็นต้น รูปแสดงการนำไปใช้กับป้ายโฆษณา ในประเทศญี่ปุ่น
Glass โปรแกรมช่วยอ่านค่าบาร์โค้ดบนโทรศัพท์มือถือ Glass เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสแกนบาร์โค้ดเพื่อทำการ อ่านข้อมูลที่เก็บอยู่ในบาร์โค้ด 2 มิติ โดยโทรศัพท์มือถือที่จะติดตั้งนั้น ต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานคือ มีกล้องดิจิตอลภายในตัวเครื่อง มีระบบ ปฎิบัติการซิมเบี้ยนซีรีย์ 60 ขึ้นไป และสามารถใช้งาน GPRS, WAP,HTTP ได้
ตัวอย่างโทรศัพท์ที่สามารถรองรับการใช้งานโปรแกรม Glass -Nokia 3650, 3660, 6600, 6630, 6670, 6680 รูปโทรศัพท์ Nokia 3650 ที่สามารถใช้งานโปรแกรม Glass
สรุป บาร์โค้ดแบบ QR Code เป็นที่นิยมแพร่หลายใช้งานไป ทั่วโลก เพราะผู้ประกอบการธุรกิจต่างๆ นำไปประยุกต์ใช้ได้หลาย รูปแบบ เช่นในด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ สามารถนำไปใช้งานได้ อย่างสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลและสามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ง่าย
แหล่งอ้างอิง ชัยกาล พิทยาเกษม.แนะนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติ.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicert.org/paper/paper.php. (วันที่ค้นข้อมูล 14 มิถุนายน2552)