590 likes | 829 Views
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา For Assessor Learning. สกอ 2 550 หลักสูตร 2 วัน. การเตรียมความพร้อมของ ผู้ประเมิน ความรู้ ทักษะ จรรยาบรรณผู้ประเมิน. IQA 2550 Inspiration and Implementation. OBJECTIVE. เป้าหมายของ IQA กระบวนการประเมิน IQA การเขียนรายงาน
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา For Assessor Learning สกอ 2550หลักสูตร 2 วัน
การเตรียมความพร้อมของ ผู้ประเมิน • ความรู้ • ทักษะ • จรรยาบรรณผู้ประเมิน
IQA 2550 Inspiration and Implementation OBJECTIVE • เป้าหมายของ IQA • กระบวนการประเมิน IQA • การเขียนรายงาน • การประเมินคุณภาพผลการประเมิน
คำถามเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้IQA 1 ? 1. การดำเนินงานด้านประกันคุณภาพทำให้เกิดวัฒนธรรม คุณภาพได้ จริงหรือไม่ ? 2. สถาบันที่ระบบประกันคุณภาพที่ดี จะมีคุณภาพดี จริงหรือไม่ ? 3. สถาบันที่ต้องการเป็น - Learning organization - Intellectual organization - Innovative organization จะต้องมี IQA จริงหรือไม่ ?
คำถามเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้IQA 2 ? 4. กระบวนการประกันคุณภาพ เป็นกระบวนการเรียนรู้ จริงหรือไม่? 5. การประกันคุณภาพภายใน ทำให้สถาบันอยู่รอดในสภาวะ การแข่งขันทางเศรษฐกิจของโลก จริงหรือไม่? 6. การประกันคุณภาพแบบพอเพียง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จริงหรือไม่? 7. End point outcome of IQA คือ อะไร ?
Concept • คุณภาพ • คุณภาพอุดมศึกษาไทย • ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา IQA • การพัฒนาตัวบ่งชี้เพิ่มเติม • ให้สอดคล้องกับบริบทเฉพาะของสถาบัน“PDCA”
คุณภาพ คือ อะไร ?คุณภาพมีที่สิ้นสุดหรือไม่ ?
Google search • Quality 947,000,000 websites • Definition of Quality 12,00,000 websites • Quality of university 242,000,000 websites 15 Nov 2008
ISO 9000 • "Degree to which a set of inherent characteristic fulfills requirements" • Philip B. Crosby (1980) • "Conformance to requirements". The difficulty with this is that the requirements may not fully represent customer expectations • Joseph M. Juran • "Fitness for use". Fitness is defined by the customer.
Noriaki Kano A two-dimensional model of quality. The quality has two dimensions: "must-be quality" and "attractive quality". The former is near to the "fitness for use" and the latter is what the customer would love, but has not yet thought about. Supporters characterize this model more succinctly as: "Products and services that meet or exceed customers' expectations". • Gerald M. Weinberg "Value to some person". • W. Edwards Deming (1988) http://www.deming.org/. "Costs go down and productivity goes up, as improvement of quality is accomplished by better management of design, engineering, testing and by improvement of processes. Better quality at lower price has a chance to capture a market. Cutting costs without improvement of quality is futile."
American Society for Quality "a subjective term for which each person has his or her own definition. In technical usage, quality can have two meanings: • The characteristics of a product or service that bear on its ability to satisfy stated or implied needs. • A product or service free of deficiencies.
Genichi Taguchi Taguchi's definition of quality is based on a more comprehensive view of the production system, and he relates Quality (or, more precisely, the lack of it) to "The loss a product imposes on society after it is shipped". • Energy quality associated with both the energy engineering of industrial systems and the qualitative differences in the trophic levels of an ecosystem.
Operations Management • Quality supports dependability • Dependability supports Speed • Speed supports Flexibility • Flexibility supports Cost Quality Assurance "prevention of defects" "detection of defects"
คุณภาพ หมายถึง • สอดคล้องกับวิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์ • บรรลุเกณฑ์ที่ตั้งไว้(การเป็นไปตามข้อกำหนด) • ความเป็นเลิศที่วัดได้ด้วยเกณฑ์ที่ตายตัว • คุ้มค่ากับการลงทุน • ความเหมาะสมกับสถานการณ์ • การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ความพึงพอใจของลูกค้า
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ • Social change • Technology change • Value change (cost-effectiveness) • Customer satisfaction change • (Needs, Expectation, Specification) Quality is dynamic stage
พรบ. การศึกษา 2542 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา มาตรา 6 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มาตรา 7 กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้ 1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน 2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไป อย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ
คุณภาพของสถานศึกษา - ผลผลิตของสถานศึกษา 1. คุณภาพบัณฑิต ……? 2. คุณภาพงานวิจัย……? 3. คุณภาพงานบริการวิชาการ……? 4. คุณภาพงานทำนุบำรุงศิลปฯ……? ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต
การประกันคุณภาพ การศึกษา (OLE)-EA การประกันคุณภาพ วิชาการ-QAA การประกันคุณภาพ สถานศึกษา-IA การประกันคุณภาพ โรงพยาบาล -HA EA RA SA ผ่านการประกันคุณภาพ หมายความว่า ?
Quality is a Journey Quality is not a destination Indicator is a life
“ คุณภาพของมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของสภามหาวิทยาลัย ” “อาจารย์เป็นอย่างไร มหาวิทยาลัยก็เป็นอย่างนั้น”
People do not perform what you expectBut they do perform what you inspect
Principle • IQA vs EQA • ใครนำไปใช้ประโยชน์ • ใช้มาตรฐานของใคร • ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา
การประเมิน Internal assessmentExternal assessment 1. เป้าหมายของสถาบัน1. เป้าหมายของ ประเทศ มาตรฐานของสถาบัน ( +สกอ ) ตามพรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (โดยมีพรบ.การศึกษา 2542 เป็นมาตรฐานต่ำสุด) 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของสมศ. สกอ 44 ตัว+ดัชนีชี้วัดของสถาบัน(+กพร+องค์กรวิชาชีพ) 3. เพื่อพัฒนา-ให้สูงกว่าเดิม3. เพื่อรับรอง-กำกับไม่ให้ต่ำกว่านี้ 4. ทุก 1 ปี 4. ทุก 5 ปี 5. โดยองค์กรภายในหรือต้นสังกัด5. โดย องค์กรภายนอก :- สมศ
Q Assurance Q Control (9) Q Accreditation CQI วิสัยทัศน์ (1) พันธกิจ-แผน CQI ผลิตบัณฑิต (2+3) CQI วิจัย (4) Process IPO CQI IPO บริหาร (7) การเงิน (8) CQI CQI ศิลปวัฒนธรรม (6) บริการ วิชาการ(5) Process IPO IPO Q Assessment Q Audit
CQI คุณภาพ PDCA A P C D PDCA Accreditation เวลา
วัตถุประสงค์ของการประเมิน IQA 1. ประเมินระบบและกลไกขององค์ประกอบ 9 ด้าน 2. ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ IQA 44 ตัว + ตามตัวบ่งชี้เพิ่มเติมของสถาบัน 3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาคุณภาพ (จุดเด่น, จุดที่ต้องปรับปรุงและข้อเสนอแนะ)
การประเมินผล = การวัดผล + การตัดสินใจ ใครตัดสิน เพื่ออะไร จุดที่วัด วิธีการวัด ใครวัด เพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อรับรองยืนยัน
ตัดสินโดยวิธีการเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ มาตรฐานหรือข้อกำหนด ผลการดำเนินงานจริง ความคาดหวัง (Peer review) ผลที่เกิดจริงจากกลุ่มอื่น (Benchmark) การประเมิน
ผู้ถูกประเมิน (ความจริง) ประเมินตัวเอง (สวย - หล่อ) ผู้ประเมินกระจกเงา (รูปร่างหน้าตา) กระจกเงา ที่ใส สะอาด ผิวเรียบ - สะท้อนภาพที่แท้จริง
Level of Standards International Standard Regional Standards National Standards Association Standards Faculty Standards I II III IV V
การประเมินคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายใน ดำเนินงานครบ 1 ปี–เขียน SAR ระดับ หน่วยงานย่อย ประเมินตนเองระดับ หน่วยงานย่อย--- ภายใน SAR/รายงานประจำปีระดับมหาวิทยาลัย (internal+external indicator) ตรวจสอบประเมินตนเองระดับมหาวิทยาลัย ---- ภายใน เตรียมความพร้อม+เชิญผู้ประเมินระดับภายนอก–สมศ&กพร&วิชาชีพ
มหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา คณะ/หน่วยงาน คณะ คณะ ภาควิชา ภาควิชา คณะ คณะ หน่วย ภาควิชา คณะ หน่วย Library ภาควิชา หน่วย ห้องสมุด Indicators ระดับมหาวิทยาลัย Indicators ระดับคณะ/หน่วยงาน Indicators ระดับภาค ภาควิชา อาจารย์ นักศึกษา หลักสูตร การเรียน การสอน การเงิน บริหาร ประเมินผล ห้องสมุด
แผนการประเมินคุณภาพภายในแผนการประเมินคุณภาพภายใน • ต้องนำผลการประเมิน ไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน • ได้ทันปีการศึกษาถัดไป • 2. ส่ง SAR และรายงานผลการประเมินให้ สกอ + เผยแพร่ • ภายใน 120 วัน นับจากสิ้นปีการศึกษา (เดือน กย.) • Plan - ก่อนเริ่มปีการศึกษา • Do - ดำเนินงานและเก็บข้อมูล (มิย.ปีปัจจุบัน-พค.ปีถัดไป) • Check - ประเมินผล ช่วงเดือน มิย.ปีถัดไป-สค.ปีถัดไป • Act - นำผลไปใช้ปรับปรุงและส่งรายงาน (เดือน กย.ปีถัดไป)
กระบวนการประเมินคุณภาพกระบวนการประเมินคุณภาพ • การเตรียมการของผู้ประเมิน ก่อนวันประเมิน • การดำเนินการประเมินในวันประเมิน • การดำเนินการหลังวันประเมิน
ขั้นตอนการประเมินในวันประเมินจริงขั้นตอนการประเมินในวันประเมินจริง 1. ขั้นเตรียมการ-ประชุมก่อนการประเมิน 2. ขั้นการหาหลักฐานและยืนยันหลักฐาน 3.ขั้นสรุปข้อมูลและตัดสินผลตามเกณฑ์ 4. ขั้นการเขียนรายงาน 5. ขั้นการรายงานผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ
ตัวอย่างการวางแผนตรวจเยี่ยม (เยี่ยมชม+เก็บข้อมูล) 1. ผู้บริหารทุกระดับ, ทีมงานบริหาร 2. คณาจารย์ 3. บุคลากรสายสนับสนุน 4. คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 5. ภาควิชา, สาขา, สำนักงาน, กลุ่มงาน- ด้านการเรียนการสอน หน่วยงานสนับสนุน:- เลขานุการ, การเงิน, โสตทัศนูปกรณ์ 6. นักศึกษาปัจจุบัน 7. ศิษย์เก่า 8. ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เกี่ยวข้อง/ผู้นำชุมชน/เจ้าของหอพัก/ร้านอาหาร 9. สถานที่เรียน, ห้องปฏิบัติการ, หอพัก, ห้องสมุด
เทคนิคและวิธีการ ประเมินคุณภาพภายใน
อ่าน ให้...ได้ใจความ(จริง)อ่านเอาเรื่อง อ่านเอาความ ห้ามอ่านแบบหาเรื่องมอง(ดู) ให้... เห็นฟัง ให้... ได้ยินสัมภาษณ์ ให้... ได้คำตอบ
รูปแบบ การเขียนรายงานผลการประเมิน • รายนามผู้ประเมิน • บทนำ • บทสรุปผู้บริหาร • วิธีการและขั้นตอนการประเมิน (ตารางประเมิน) • ผลการประเมินตามรายตัวบ่งชี้ ( ตาราง ป1 สกอและสถาบัน++) • สรุปผลการประเมินในภาพรวม • 6.1 ผลการประเมินตาม 9 องค์ประกอบ( ตาราง ป2 และป2++ ) • 6.2 ผลการประเมินตาม 3 มาตรฐานอุดมศึกษา( ตาราง ป3 และป3++) • 6.3 ผลการประเมินตาม 4 ด้านของ BSC ( ตาราง ป4 และป4++ ) • 6.4 ผลการประเมินตามมาตรฐานของสถาบัน(ถ้ามี) ( ตาราง ป5 ) • 6.5 จุดแข็ง+แนวทางเสริม, จุดที่ต้องปรับปรุง+ข้อเสนอแนะ (เฉพาะ 9 อปก) • + ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR • 7. ภาคผนวก
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน