640 likes | 878 Views
การปฏิรูประบบงบประมาณ. เอกสารอ่านประกอบ : จรัส สุวรรณมาลา ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุ่งเน้นผลสำเร็จในภาครัฐ กรุงเทพฯ ธนธัช 2546 บทที่ 1-2. กระบวนการงบประมาณ. การวางแผน/จัดทำงบประมาณ. การอนุมัติงบประมาณ. การติดตาม/ทบทวนและทำรายงาน. การบริหารงบประมาณ.
E N D
การปฏิรูประบบงบประมาณการปฏิรูประบบงบประมาณ เอกสารอ่านประกอบ: จรัส สุวรรณมาลา ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุ่งเน้นผลสำเร็จในภาครัฐ กรุงเทพฯ ธนธัช 2546 บทที่ 1-2
กระบวนการงบประมาณ การวางแผน/จัดทำงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ การติดตาม/ทบทวนและทำรายงาน การบริหารงบประมาณ
ความเป็นมาของการปรับปรุงระบบงบประมาณแบบใหม่ความเป็นมาของการปรับปรุงระบบงบประมาณแบบใหม่ • ระบบงบประมาณแบบ แสดงรายการ (Line Item Budgeting) • ตั้งแต่ ปี 2502-2524 • ระบบงบประมาณแบบ แผนงาน (Programming Budgeting) • ตั้งแต่ ปี 2525-ปัจจุบัน โดยผสมผสานกับ แบบแสดงรายการ
สาเหตุการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณสาเหตุการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ • ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำในปี 2540 • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 - การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 - ความโปร่งใสและตรวจสอบได้
ปัญหาสำคัญของกระบวนการงบประมาณในรูปแบบเดิมปัญหาสำคัญของกระบวนการงบประมาณในรูปแบบเดิม • ขาดความเชื่อมโยงในการวางแผนทุกระดับ • เน้นรายการใช้จ่ายมากกว่ามุ่งเน้นความสำเร็จของงาน • ขาดความเชื่อมโยงระหว่างแผนปฏิบัติงานกับการจัดสรรงบประมาณ • ไม่มีการวางแผนการเงินล่วงหน้า • ขาดความครอบคลุมครบถ้วนทุกแหล่งเงินงบประมาณ • ขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการด้านงบประมาณ • ไม่คำนึงถึงประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินทรัพย์
นโยบายใหม่ของการจัดทำงบประมาณนโยบายใหม่ของการจัดทำงบประมาณ • การปรับปรุงเพื่อให้งบประมาณเป็นเครื่องมือการบริหารเพื่อความ • สำเร็จของนโยบาย และให้ประชาชนเห็นเป็นรูปธรรม มากกว่าการ • ควบคุมการใช้จ่าย • มุ่งเน้นเพื่อความโปร่งใสของการใช้เงิน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล • สร้างความคล่องตัวในการจัดทำงบประมาณ โดยการมอบอำนาจ • กับผู้ปฏิบัติ (Devolution) และสร้างความรับผิดและรับชอบ • (Accountability) จากการใช้งบประมาณเพื่อผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ • และความต้องการของประชาชน
การปฏิรูประบบงบประมาณต้องมีความเชื่อมโยงกับการปฏิรูปด้านอื่นๆ ได้แก่ • การปฏิรูปจัดการ (Management Reform) • การปฏิรูปการปกครอง (Governance Reform) • การปฏิรูปการบริหารการเงิน (Financial Reform) • การปฏิรูปด้านกฎหมาย (Legal Reform)
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน คืออะไร ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน คือ วิธีการในการระบุพันธกิจ (Mission) ขององค์กรเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบ มีการประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ โดยเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใช้เพื่อให้ได้ผลผลิตและผลลัพธ์ตามที่กำหนดไว้
จุดมุ่งหมาย (Goal) บริหารจัดการทรัพยากรโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จของงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
วัตถุประสงค์ (Objectives) เพื่อให้ได้มาซึ่งระบบงบประมาณที่ - สามารถวัดผลสำเร็จของงาน - สามารถเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรที่ผ่านกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสะท้อนให้เห็นความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรต่อภารกิจของรัฐภายใต้ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใสตรวจสอบได้
หลักการและความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนระบบการจัดการงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงานหลักการและความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนระบบการจัดการงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน มีสาเหตุมาจาก : 1. กระบวนการงบประมาณที่ใช้อยู่เดิมที่มุ่งเน้นการควบคุม ปัจจัยนำเข้า (Inputs) มีข้อจำกัดหลายประการ 2. แรงผลักดันของแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนบทบาทของภาครัฐไปสู่รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์เป็นหลัก
3. เพื่อเป็นการเพิ่มวินัยให้แก่กระบวนการงบประมาณ ซึ่งเป็นการกระตุ้นในเรื่อง ประสิทธิภาพ ว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์โดยใช้ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดหรือไม่ ประสิทธิผล ว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์ได้หรือไม่ 4. เพื่อให้สามารถจัดสรรงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความเป็นธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และมีความเป็นมาตรฐานสากล
หลักการสำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานหลักการสำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ผู้บริหารมีอิสระมากขึ้นในการบริหารการเงิน ควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อความสำเร็จของงาน รัฐหรือประชาชนได้รับประโยชน์จากความคุ้มค่าในการใช้จ่ายจากหน่วยงานของรัฐ
ระบบการจัดการงบประมาณระบบการจัดการงบประมาณระบบการจัดการงบประมาณระบบการจัดการงบประมาณ แบบเดิมแบบใหม่ มุ่งเน้นมุ่งเน้น 1. ทรัพยากรที่ใช้ไป (Inputs) 1. ผลผลิตและผลลัพธ์ (Outputs and Outcomes) 2. ควบคุมการจัดสรรงบประมาณ 2. ความรับผิด (Accountability) อย่างเข้มงวด ความโปร่งใส (Transparency) และการรายงาน (Reporting)
ระบบการจัดการงบประมาณระบบการจัดการงบประมาณ แบบเดิมแบบใหม่ มุ่งเน้นมุ่งเน้น 3. เคร่งครัดการเบิกจ่ายงบประมาณ3. การมอบอำนาจและการ กระจายอำนาจการ จัดทำและ การบริหารงบประมาณ ให้แก่ หน่วยปฏิบัติ (Budget Devolution) 4. การเพิ่มขอบเขตความครอบ คลุมของงบประมาณ (Expanding Budget Coverage)
ระบบการจัดการงบประมาณระบบการจัดการงบประมาณ แบบเดิมแบบใหม่ มุ่งเน้นมุ่งเน้น 5. การจัดทำแผนงบประมาณราย จ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework – MTEF)
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) 1. ด้านวินัยทางการคลังโดยรวม การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า สามารถควบคุมการเพิ่มขึ้นของรายจ่าย เนื่องจากรัฐบาลสามารถทราบภาระผูกพันทางรายจ่ายในอนาคตของรัฐบาลได้ ภายใต้แผนงาน งาน/โครงการที่เกิดจากนโยบายในปัจจุบัน
2. การลดภาระในการพิจารณางบประมาณรายจ่ายที่เป็นงาน/โครงการ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้รับผิดชอบด้านนโยบายสามารถมุ่งเน้นไปที่การพิจารณาเรื่องของการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย หรือ แผนงาน หรือโครงการใหม่แทน 3. การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพขึ้น คือ ส่วนราชการสามารถวางแผนดำเนินงานระยะปานกลางได้โดยมีความมั่นใจในระดับหนึ่งว่าแผนงานที่ส่วนราชการดำเนินงานจะได้รับการจัดสรรงบประมาณอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง
มาตรฐานการบริหารทางการเงินมาตรฐานการบริหารทางการเงิน 1. การวางแผนงบประมาณ(Budgeting Planning)ส่วนราชการจะต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ และวางแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง
การวางแผนงบประมาณ • วางแผนกลยุทธ์ • มีการกำหนดเป้าหมายที่เป็นรูปธรรมและเหมาะสม • วางแผนงบประมาณล่วงหน้า โดยมีแหล่งข้อมูลที่เป็นระบบ • จัดสรรลงถึงหน่วยปฏิบัติ • มีรายละเอียดเพียงพอต่อการควบคุม • ข้อมูลงบประมาณภายในสอดคล้องกับระบบบัญชี • มีการทบทวนเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงแผนงบประมาณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 2. การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุนผลผลิต(Output Specification and Costing)เพื่อนำไปสู่การจัดสรรงบประมาณที่เน้นผลผลิต และต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิต
การคำนวณต้นทุนผลผลิต • มีระบบบริหารการเงินที่สามารถคำนวณต้นทุน • มีการกำหนดผลผลิตและกิจกรรมสำคัญชัดเจน • มีเกณฑ์กำหนดต้นทุนทางตรงและทางอ้อมของกิจกรรม • เชื่อมโยงต้นทุนสู่ผลผลิต • มีระบบบริหารติดตามและตรวจสอบ • บริหารต้นทุนโดยพิจารณาความคุ้มค่า การเปลี่ยนแปลง และลดต้นทุน
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง(Procurement Management) มีระเบียบ ระบบงาน ที่โปร่งใสและเหมาะสม คำนึงถึงประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าของเงินงบประมาณ (Value for money)
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ(Financial Management and Budget Control)โดยจะต้องมีมาตรฐานการควบคุมงบประมาณ และการกำหนดความรับผิดชอบเรื่องการบัญชีและการเงิน
การบริหารและควบคุมงบประมาณการบริหารและควบคุมงบประมาณ • ขึ้นอยู่กับ • การบริหารจัดการภายในองค์กร • กลไกในการบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายในสำหรับหน้าที่งานทางการเงิน (Financial Functions) • ระบบข้อมูลที่ดีสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริหาร
การบริหารและควบคุมงบประมาณการบริหารและควบคุมงบประมาณ • มีมาตรฐานทางบัญชีที่เหมาะสม ดังนี้ • ผังบัญชีเหมาะสมและครอบคลุม (สำหรับการรายงานรายละเอียดที่สำคัญและการคิดต้นทุนต่อหน่วย) • มีคู่มือการใช้งาน • การแยกความรับผิดชอบ • มีการตรวจสอบสม่ำเสมอ และตรวจทานข้อมูล • มีระบบการกำหนดสิทธิระดับต่างๆ • มีการป้องกันข้อมูลสูญหาย • มีการรายงานสม่ำเสมอ • มีการบริหารและควบคุมให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 5. การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน(Financial and Performance Reporting)เพื่อแสดงความโปร่งใสประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการใช้งบประมาณ
การรายงานผลการดำเนินงานการรายงานผลการดำเนินงาน • รายงานสำหรับภายในและภายนอก • รายงานทางการเงินตามรูปแบบและผังบัญชีที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของหน่วยงานกลาง • รายงานผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของหน่วยงานกลาง
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 6. การบริหารสินทรัพย์(Asset Management) เพื่อใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ให้คุ้มค่ามากที่สุด
การบริหารทรัพย์สิน • ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญ • มีการควบคุมเหมาะสม • มีการคิดค่าใช้จ่ายในการใช้งานที่สำคัญ • มีมาตรการใช้งานทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด • มีการวางแผนจัดหาล่วงหน้า
มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ)มาตรฐานการบริหารทางการเงิน(ต่อ) 7. การตรวจสอบภายใน(Internal Audit) เพื่อควบคุมการใช้งบประมาณ และปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การตรวจสอบภายใน • มีหน่วยตรวจสอบภายใน ซึ่งมีระเบียบรองรับ • มีอิสระ รายงานตรงต่อผู้บริหารสูงสุด • ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง • มีเจ้าหน้าที่ที่มีคุณภาพ • มีกิจกรรมการตรวจสอบที่ครอบคลุม • ตรวจสอบทั้งการเงินและการปฏิบัติงาน
การเปลี่ยนแปลงในงบประมาณที่ผ่านมาการเปลี่ยนแปลงในงบประมาณที่ผ่านมา • พ.ร.ก. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 • ต้องมีแผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี • มีแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี เพื่อเป็นทิศทางในการจัดสรรงบประมาณ (สร้าง Blueprint for Change) • มุ่งเน้นการบริหารแบบบูรณาการในทุกมิติ (Function, Area and Agenda) • มีความคิดริเริ่มในการนำยุทธศาสตร์ใหม่ๆ มาแก้ไขปัญหาบ้านเมือง แต่งบประมาณยังมีจำกัด
มีการปรับปรุงส่วนราชการที่เป็นผลให้หน่วยงานต้องเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลมากขึ้นมีการปรับปรุงส่วนราชการที่เป็นผลให้หน่วยงานต้องเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลมากขึ้น
ส่วนราชการ (Functions) นโยบาย/ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน (Agenda) การบูรณาการรวมทุกมิติ (Agenda/Functions/Area) กลุ่มจังหวัด/จังหวัด (Area) การบูรณาการมิติการจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาประเทศ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ อปท. อปท.
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
หลักการและกรอบแนวคิดของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์หลักการและกรอบแนวคิดของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ เน้นการใช้ยุทธศาสตร์ระดับชาติ และการใช้นโยบายรัฐบาลเป็นหลักในการจัดการทรัพยากรให้เกิดประสิทธิผล คุ้มค่า และสอดคล้องกันตามความต้องการของประชาชน โดยเพิ่มบทบาทและความรับผิดชอบของกระทรวง กรม ในการบริหารจัดการงบประมาณ และคำนึงถึงความโปร่งใส ตรวจสอบได้
หลักการงบประมาณใหม่ • ด้านนโยบาย (Policy) • ใช้นโยบายนำ (Policy Driven/Policy Based) • คำนึงถึงเสถียรภาพทางการคลัง (Fiscal Sustainability) • เน้นประโยชน์ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People Oriented) • มีความต่อเนื่อง (Forward Looking and Continuity) • มีการจัดลำดับความสำคัญที่ชัดเจน (Clear Strategic Prioritization) • เน้นที่ผลงาน (Performance Based)
ด้านการบริหาร (Management) • ไม่รวมศูนย์อำนาจ (Deconcentration) • ยึดหลักธรรมาภิบาล คำนึงถึงความโปร่งใส ตรวจสอบได้(Good Governance, Transparency and Accountability) • มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ (Management Flexibility)
มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) • มีความครอบคลุมข้อมูลด้านการเงิน (Complete Budget Information) • การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบของรัฐสภาและประชาชน
กำหนดผลผลิต-ผลลัพธ์ กำหนดระดับความสำเร็จ การพัฒนาแผนพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ การกำหนดกรอบ (วิสัยทัศน์) การกำหนดประเด็นตามวิสัยทัศน์ สังคม เศรษฐกิจ กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดวัตถุประสงค์
ขั้นตอนที่ 1: การกำหนดยุทธศาสตร์และการแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนงบประมาณ ที่มา: สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 2: การจัดสรรงบประมาณและการเบิกจ่าย ที่มา: สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 3: การประเมินสัมฤทธิผลของการจัดสรรงบประมาณ ที่มา: สำนักงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 4: การกำหนดวงเงินงบประมาณ ที่มา: สำนักงบประมาณ
หน้าที่ประชาชน ในฐานะพลเมืองไทย หน่วยงานรัฐบาล ระบบงบประมาณแบบ PBB ความโปร่งใส (Transparency) ความรับผิด (Accountability) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ผลประโยชน์ประชาชน รายได้ภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ สินค้าและบริการ หน่วยงานรัฐบาล มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน ในการแสดงผลงานต่อ ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม ประชาชนได้ข้อมูลผลงานของรัฐบาล